ข่าว

ความเหลื่อมล้ำ ทำให้มลภาวะในมหาสมุทรแย่ลง

มลพิษจากพลาสติกในมหาสมุทรกำลังคุกคามมนุษยชาติ และประเทศไทยไม่สามารถหลีกหนีจากการตำหนิว่าเป็นหนึ่งในผู้ก่อมลพิษทางทะเลที่เลวร้ายที่สุดในโลก แม้ว่ารัฐบาลได้ให้คำมั่นว่าจะจัดการกับมลพิษทางทะเล แต่สิ่งหนึ่งที่แน่นอน ความสำเร็จอยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมหากหน่วยงานของรัฐไม่สามารถมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นในฐานะหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันตามข้อมูลของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ระบุว่าประเทศไทยติด10 อันดับประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปีพ.ศ.2563) แต่ยังเป็นที่แปลกใจมากนัก เนื่องจากประเทศมีขยะที่ได้รับการจัดการอย่างไม่ถูกต้องโดยเฉลี่ย 1.03 ตันในแต่ละปี เกือบครึ่งหนึ่ง (0.41 ตัน) ไหลลงทะเล ซึ่งขยะพลาสติกต้องใช้เวลานานในการย่อยสลายถึง 20 ถึง 500 ปีอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ESCAP และพันธมิตรเปิดตัวหลักสูตรออนไลน์เชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อจัดการกับขยะพลาสติกในทะเลและเมืองต่างๆ

เนื่องในวันมหาสมุทรโลก คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติ (ESCAP) และพันธมิตรได้เปิดตัวหลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อช่วยลดผลกระทบจากมลภาวะพลาสติก โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Closing the Loop ซึ่งหลักสูตรนี้มีชื่อว่า Cities and Marine Plastic Pollution: Building a Circular Economy สาธิตเทคโนโลยีและเทคนิคอันล้ำสมัยที่สามารถวัดและตรวจสอบขยะพลาสติกทั้งสภาพแวดล้อมจากเมืองและทางทะเล หลักสูตรนี้มีความรู้ที่โอเพนซอร์ซสำหรับทุกคนที่ต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้มาตรการ เพื่อให้แน่ใจว่าจะมีน้ำสะอาดให้สำหรับคนรุ่นใหม่ในอนาคตอ่านต่อ ...

ประเทศสมาชิกอาเซียนรับแผนปฏิบัติการระดับภูมิภาค เพื่อแก้ไขปัญหามลพิษพลาสติก

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ได้เปิดตัวแผนปฏิบัติการระดับภูมิภาค เพื่อการต่อต้านขยะทะเลในประเทศสมาชิกอาเซียน (พ.ศ. 2564 – 2568) โดยจัดทำยุทธศาสตร์ร่วมที่สามารถปรับขนาดได้ และมุ่งเน้นการแก้ปัญหาเพื่อจัดการกับขยะพลาสติกในทะเลทั่วทั้งภูมิภาคโดยแผนปฏิบัติการเกิดขึ้นเนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก วันที่ 5 มิถุนายน และวันมหาสมุทรโลก วันที่ 8 มิถุนายน ซึ่งถือเป็นก้าวสำคัญของอาเซียน  ที่แสดงถึงความมุ่งมั่นร่วมกัน สานต่อ และโดดเด่นยิ่งขึ้นผ่านการดำเนินการระดับภูมิภาค ซึ่งสอดคล้องกับวาระระดับชาติในการรับมือกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอ่านต่อ ...

ดาว-ทช.-IUCN ยกระดับการอนุรักษ์ป่าชายเลนในการต่อสู้กับภาวะโลกร้อนและขยะทะเล

เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัทดาวประเทศไทย ร่วมกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) จัดพิธีลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ โครงการ ดาว – เครือข่ายชายฝั่ง รักษ์พิทักษ์ป่าชายเลน เพื่อความยั่งยืน” (Dow & Thailand Mangrove Alliance) ความร่วมมือดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาอนุรักษ์ป่าชายเลนตามชายฝั่งทะเลของประเทศไทยครอบคลุม 5 จังหวัด บนพื้นที่กว่า 5,000 ไร่ เพื่อลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อนและขยะทะเลอย่างยั่งยืน โดยพื้นที่นำร่องจะอยู่ในตำบลปากน้ำประแสร์ จังหวัดระยองอ่านต่อ ...

ประเทศไทยและอาเซียนพยายามที่จะแก้ไขปัญหาปัญหาขยะพลาสติกในทะเล [วิดีโอ]

เศษพลาสติกทางทะเลเป็นปัญหาข้ามพรมแดนที่สำคัญ แต่ประเทศไทย และอาเซียนได้จัดการปัญหาที่ท้าทายนี้อย่างไร NBT World มีโอกาสพูดคุยกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับเรื่องนี้ดูต่อ ...

การเปลี่ยนแนวคิดในปัญหามลพิษพลาสติกในทะเล

ในปัจจุบันพลาสติกได้กลายเป็นส่วนสำคัญในสร้างความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต นับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการผลิตในระดับอุตสาหกรรมในปี ค.ศ.1940 พลาสติกกลายเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในชีวิตประจำวัน แต่สิ่งที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นสัญลักษณ์แห่งความสะดวกสบาย ในตอนนี้ทำให้นึกถึงภาพของบ่อขยะที่เต็มไปด้วยพลาสติก โดยมีพลาสติกที่ท่วมมหาสมุทรและคร่าสิ่งมีชีวิตในทะเลอ่านต่อ ...

Lieselot Nguyen

ประกาศสงครามกับขยะพลาสติก

ในปี พ.ศ.2493 ทั่วโลกมีประชากรทั้งหมด 2.5 พันล้านคน ซึ่งประชากรจำนวนนี้ผลิตพลาสติกประมาณปีละ 1.5 ล้านตัน ตามรายงานของ Surfers Against Sewage ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์กรการกุศลด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญของสหราชอาณาจักร และในปี พ.ศ.2559 ประชากรโลกเพิ่มขึ้นเป็น 7 พันล้านคน และประชากรจำนวนนี้ผลิตพลาสติกมากกว่า 320 ล้านตันต่อปี ซึ่งภายในปี พ.ศ.2577 หรืออีก 15 ปีนับจากนี้ คาดการณ์ว่าจำนวนดังกล่าวจะเพิ่มมากเป็นสองเท่าอ่านต่อ ...

อรุษา พิสุทธิพันธุ์

#SEAYOUTOMORROW: อนาคตของมหาสมุทร

เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการกำจัดขยะทะเลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ.2570 โดยใช้หลักการเศรษฐกิจแบบหมุนเวียนในการประชุมสุดยอดอาเซียนปี พ.ศ.2562 นี้ ซึ่งไทยถูกจัดอันดับที่ 6 ของประเทศที่มีขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุดในโลกอ่านต่อ ...

นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมชั้นนำจวกไทยทำลายสถิติมลพิษทางทะเล

ดร.ธรณ์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษและประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นักสิ่งแวดล้อมและนักวิชาการไทย ได้โพสต์รูปภาพบน Facebook ชายหาดที่เต็มไปด้วยขยะจำนวนมาก พร้อมกับได้โพสต์ข้อความประณามประเทศที่ไม่ปกป้องสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควร และขอให้คนไทยทุกคนเร่งดำเนินการก่อนที่มันจะสายเกินไป ซึ่งรูปภาพดังกล่าวถูกถ่ายมาจากอุทยานทางทะเลของประเทศไทยอ่านต่อ ...

มาตรการที่จำเป็นสำหรับโศกนาฏกรรมทางทะเล เพื่อนำไปสู่การทำจัดการพลาสติก

โศกนาฏกรรมทางทะเลของพยูนน้อยมาเรียมอันเป็นที่รักของคนไทยที่เสียชีวิตจากการกินพลาสติกเผยให้เห็นความจริงที่น่าอึดอัดใจเกี่ยวกับภัยคุกคามที่ร้ายแรงของขยะทะเลพะยูนน้อยถูกพบโดยนักชีววิทยาทางทะเลในเดือนเมษายน ทางภาคใต้ของประเทศไทยเธอกลายเป็นดาวเด่นในโลกโซเชี่ยลหลังจากผู้ดูแลของเธอปล่อยวิดีโอที่พยูนน้อยอ้อนพี่เลี้ยง และอีกไม่นานกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งได้โพสต์บนหน้า Facebook ของกรมฯ ว่า มาเรียมได้เกิดล้มป่วย และไม่กินอาหาร โดยเธอเสียชีวิตด้วยวัยแปดเดือน ในวันที่ 17 สิงหาคมอ่านต่อ ...

อรวิภา ร่ำรวย

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

339GM
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!