ทรัพยากรน้ำ

บริเวณทะเลและชายฝั่งทะเล

ความเหลื่อมล้ำ ทำให้มลภาวะในมหาสมุทรแย่ลง

มลพิษจากพลาสติกในมหาสมุทรกำลังคุกคามมนุษยชาติ และประเทศไทยไม่สามารถหลีกหนีจากการตำหนิว่าเป็นหนึ่งในผู้ก่อมลพิษทางทะเลที่เลวร้ายที่สุดในโลก แม้ว่ารัฐบาลได้ให้คำมั่นว่าจะจัดการกับมลพิษทางทะเล แต่สิ่งหนึ่งที่แน่นอน ความสำเร็จอยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมหากหน่วยงานของรัฐไม่สามารถมีส่วนร่วมกับชุมชนท้องถิ่นในฐานะหุ้นส่วนที่เท่าเทียมกันตามข้อมูลของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) ระบุว่าประเทศไทยติด10 อันดับประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปีพ.ศ.2563) แต่ยังเป็นที่แปลกใจมากนัก เนื่องจากประเทศมีขยะที่ได้รับการจัดการอย่างไม่ถูกต้องโดยเฉลี่ย 1.03 ตันในแต่ละปี เกือบครึ่งหนึ่ง (0.41 ตัน) ไหลลงทะเล ซึ่งขยะพลาสติกต้องใช้เวลานานในการย่อยสลายถึง 20 ถึง 500 ปีอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ESCAP และพันธมิตรเปิดตัวหลักสูตรออนไลน์เชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อจัดการกับขยะพลาสติกในทะเลและเมืองต่างๆ

เนื่องในวันมหาสมุทรโลก คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิกแห่งสหประชาชาติ (ESCAP) และพันธมิตรได้เปิดตัวหลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์ เพื่อช่วยลดผลกระทบจากมลภาวะพลาสติก โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Closing the Loop ซึ่งหลักสูตรนี้มีชื่อว่า Cities and Marine Plastic Pollution: Building a Circular Economy สาธิตเทคโนโลยีและเทคนิคอันล้ำสมัยที่สามารถวัดและตรวจสอบขยะพลาสติกทั้งสภาพแวดล้อมจากเมืองและทางทะเล หลักสูตรนี้มีความรู้ที่โอเพนซอร์ซสำหรับทุกคนที่ต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้มาตรการ เพื่อให้แน่ใจว่าจะมีน้ำสะอาดให้สำหรับคนรุ่นใหม่ในอนาคตอ่านต่อ ...

ประยุทธ์ สั่งการเร่งจัดการมลพิษทางทะเล

น.ส.ไตรศุลี ไตรสรณกุล รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่เร่งแก้ไขปัญหาขยะในประเทศหลังจากรับทราบว่าขยะประมาณ 40% ลงสู่มหาสมุทรเมื่อปีที่แล้ว โดยพล.อ. ประยุทธ์ได้แสดงความกังวลหลังจากได้รับฟังการบรรยายสรุปโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) เกี่ยวกับความเสื่อมโทรมของทรัพยากรทางทะเลและระบบนิเวศชายฝั่งในประเทศอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

'พัทยาโมเดล' เพิ่มความปลอดภัยทางทะเล

สำนักงานเจ้าท่าพัทยากำลังดำเนินการวางทุ่นสายโซ่ในอ่าวพัทยา เพื่อแยกพื้นที่สำหรับการสัญจรทางน้ำและกิจกรรมอื่น ๆ อย่างชัดเจน โดยปรับปรุงความปลอดภัยทางทะเลและสร้างความเชื่อมั่นของนักท่องเที่ยวแผนดังกล่าวได้รับการขนานนามว่าเป็น ‘พัทยาโมเดล’ เพื่อความปลอดภัยในทะเล ซึ่งเริ่มโครงการในปี พ.ศ.2558 และขณะนี้ได้รับการจัดสรรเงินทุนสำหรับขั้นตอนที่สามและขั้นสุดท้ายซึ่งจะเริ่มในปีหน้าอ่านต่อ ...

ชัยยศ ผู้พัฒนพงษ์

เจ้าท่าเตรียมเสริมทรายจอมเทียนมูลค่า 1.1 พันล้านบาท

ชายหาดจอมเทียน เมืองพัทยาจะถูกขยายให้กว้างขึ้น ภายใต้โครงการเสริมทรายป้องกันการกัดเซาะมูลค่า 1.1 พันล้านบาท นายวิทยา ยาม่วง อธิบดีกรมเจ้าท่า เปิดเผยว่า ทางกรมเจ้าท่ามีเป้าหมายที่จะขยายชายหาดประมาณ 7 กิโลเมตรให้มีความกว้าง 35-50 เมตร เพื่อรักษาหาดทรายให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวในเมืองตากอากาศด้วยงบประมาณ 1.16 พันล้านบาท โดยโครงการจะแบ่งเป็น 2 เฟสอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

มหาสมุทรที่มีสุขภาพดีจำเป็นต่อการคงความเป็นอาเซียนไว้

ความทรงจำของชายหาดที่งดงาม และเสียงคลื่นที่ดังกังกวาลอาจดูห่างไกล ในขณะที่เราทุกคนยังคงถูกขังอยู่ที่บ้าน เนื่องจากการระบาดของ COVID-19 แต่เราไม่จำเป็นต้องมองไปไกล เพื่อชื่นชมประวัติศาสตร์อันยาวนานของท้องทะเลในเอเชียและแปซิฟิก นับเป็นเวลาหลายช่วงอายุคนที่ภูมิภาคนี้มีชื่อเสียงทางด้านทะเล เราต่างยกนิ้วให้กับมหาสมุทรแปซิฟิกที่หล่อเลี้ยงผู้คนกว่าหลายพันล้านคน ซึ่งให้ทั้งอาหาร วิถีชีวิต และความเป็นตัวตน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับชุมชนชายฝั่งทะเลในรัฐหมู่เกาะแปซิฟิกอ่านต่อ ...

ปลดล็อกรายงานตรวจสอบแทนที่ EIA เขื่อนกันคลื่น

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจะใช้ “รายการตรวจสอบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น” เพื่อตรวจสอบข้อเสนอเกี่ยวกับการก่อสร้างกำแพงกันคลื่น เพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งรายการตรวจสอบจะได้รับการออกแบบในลักษณะที่แสดงประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างชัดเจน ซึ่งผู้ยื่นโครงการต้องระบุในการวางแผนโครงการ โดยทางกระทรวงฯระบุว่ารายการตรวจสอบนี้จะเข้ามาแทนที่ข้อกำหนดการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) สำหรับโครงการที่เกี่ยวข้องกับกำแพงกันคลื่นอ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

#SEAYOUTOMORROW: อนาคตของมหาสมุทร

เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการกำจัดขยะทะเลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ.2570 โดยใช้หลักการเศรษฐกิจแบบหมุนเวียนในการประชุมสุดยอดอาเซียนปี พ.ศ.2562 นี้ ซึ่งไทยถูกจัดอันดับที่ 6 ของประเทศที่มีขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุดในโลกอ่านต่อ ...

การต่อสู้ของอาเซียนในปัญหาขยะทะเล

ในที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนว่าด้วยปฏิญญากรุงเทพ ในวันนี้จะมุ่งเน้นด้านความร่วมมือ และมาตรการในภูมิภาค เพื่อรับมือกับภัยคุกคามทางสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรงนี้กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนจะลงนามในปฏิญญากรุงเทพ เพื่อร่วมกันต่อสู้กับปัญหาขยะพลาสติกทางทะเลที่แพร่กระจายในภูมิภาคต่าง ๆอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

การฟื้นคืนอ่าวมาหยา : การปิดอ่าวอาจไม่พอ

ต้นเดือนนี้ อ่าวมาหยาที่มีขนาดเล็กและทิวทัศน์อันงดงามในชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย ซึ่งโด่งดังจากภาพยนตร์เรื่อง The Beach ของ ลีโอนาร์โด ดิแคพรีโอ ในปี พ.ศ. 2543 ได้ปิดให้บริการแก่นักท่องเที่ยว กว่าสองทศวรรษที่เป็นสถานที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวชั้นนำของไทย แต่ก็ได้ทำลายระบบนิเวศน์ของเกาะเช่นกันอ่านต่อ ...

เพ็ญนภา หงษ์ทอง

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

dzDTU
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!