ความพยายามของภาคประชาสังคมให้บรรลุเป้าหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ด้านล่างนี้เป็นการนำเสนอมุมมองเรื่องการมีส่วนร่วมในปัจจุบันของภาคประชาสังคม ต่อกระบวนการทบทวนรายงานความคืบหน้าของประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDG) กรุณาใช้ปุ่มเครื่องมือ (ตำแหน่งมุมล่างขวา) เพื่อเลื่อนดูจากซ้ายไปขวา และยังเลือกดูผลงานแบบเต็มหน้าจอได้ คุณสามารถอ่านเพิ่มเติม เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมด้าน SDG ในประเทศไทยได้ที่หน้า SDG ​ เอกสารอ้างอิง:KEPA 2554. ภาพสะท้อนของภาคประชาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร.ผาสุก พงษ์ไพจิตร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543. งานพัฒนา, ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน หัวข้อในการบรรยายอบรมของหลักสูตรการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะและงานพัฒนา จัดโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณ ริชาร์ด มัลแกน จากโครงการบัณฑิตศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย​ ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก IDP ประเทศออสเตรเลีย. กรุงเทพมหานคร.คณะรักษาความสงบแห่งชาติ​ หรือ คสช. (NCPO) ตั้งขึ้นเมื่อกองทัพประกาศใช้กฎอัยการศึก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 และ คสช. ได้รัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2540ในปี พ.ศ. 2560 องค์กรภาคประชาสังคมภายใต้ชื่อ​​ HLPF Alliance […]

ด้านล่างนี้เป็นการนำเสนอมุมมองเรื่องการมีส่วนร่วมในปัจจุบันของภาคประชาสังคม ต่อกระบวนการทบทวนรายงานความคืบหน้าของประเทศ เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDG) กรุณาใช้ปุ่มเครื่องมือ (ตำแหน่งมุมล่างขวา) เพื่อเลื่อนดูจากซ้ายไปขวา และยังเลือกดูผลงานแบบเต็มหน้าจอได้ คุณสามารถอ่านเพิ่มเติม เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมด้าน SDG ในประเทศไทยได้ที่หน้า SDG ​

 

เอกสารอ้างอิง:

  1. KEPA 2554. ภาพสะท้อนของภาคประชาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร.
  2. ผาสุก พงษ์ไพจิตร, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543. งานพัฒนา, ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน หัวข้อในการบรรยายอบรมของหลักสูตรการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะและงานพัฒนา จัดโดยศาสตราจารย์เกียรติคุณ ริชาร์ด มัลแกน จากโครงการบัณฑิตศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย​ ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก IDP ประเทศออสเตรเลีย. กรุงเทพมหานคร.
  3. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ​ หรือ คสช. (NCPO) ตั้งขึ้นเมื่อกองทัพประกาศใช้กฎอัยการศึก เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 และ คสช. ได้รัฐประหารยึดอำนาจการปกครอง เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2540
  4. ในปี พ.ศ. 2560 องค์กรภาคประชาสังคมภายใต้ชื่อ​​ HLPF Alliance ประเทศไทย ได้จัดทำรายงานอย่างอิสระ เพื่อติดตามและประเมินผลกระบวนการและการปฏิบัติตามแนวทาง SDG 1, SDG 5, SDG 13 และ SDG 14 เพื่อนำเสนอข้อบกพร่องและความท้าทายในการทำงานของภาครัฐ รวมทั้งข้อเสนอแนะในการปฏิบัติตามแนวทาง SDG โดยเฉพาะอย่างยิ่งความจำเป็นที่จะให้ภาคประชาสังคมเข้ามามีส่วนร่วม สมาชิกก่อตั้งของมูลนิธิ HLPF ประเทศไทย ประกอบด้วย มูลนิธิป่าไม้และเกษตรกร (Forest and Farmers Foundation – FFF) มูลนิธิสตรี มูลนิธิวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย มูลนิธิศักยภาพชุมชน สมัชชาองค์กรพัฒนาเอกชนเพื่อการคุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการรณรงค์เพื่อสิทธิมนุษยชน (CCHR) Climate Watch ประเทศไทย มูลนิธิ HomeNet และมูลนิธิ ProRights
  5. มูลนิธิเพื่อสตรี. 2560. การตรวจสอบและการทบทวนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนและความยุติธรรมในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อมิถุนายน 2561.
  6. Shawkat Ali Tutul. 2560. การมีส่วนร่วมในงานประชุมเชิงปฏิบัติการ ADA จัดขึ้นในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 24-26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560.  กรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อมิถุนายน 2561.
  7. ไทยพับลิก้า.​ ข่าว: นายกฯลุย EEC พร้อมพัฒนา 6,500 ไร่ อู่ตะเภา “เมืองการบินตะวันออก” เชื่อม 3 สนามบิน. วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2560 สืบค้นเมื่อเมษายน 2561.
  8. Sourcewatch. โรงไฟฟ้าเทพา. สืบค้นเมื่อเมษายน 2561.  
  9. วิกิพีเดีย. อ้างอิง:https://en.wikipedia.org/wiki/Thepha_District. สืบค้นเดือนเมษายน 2561.
  10. ไทยพีบีเอส. ข่าว: นายกฯ​ ขอบคุณเครือข่ายไม่เอาโรงไฟฟ้าถ่านหินยุติชุมนุม​ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 สืบค้นเมื่อเมษายน พ.ศ. 2561.
  11. กรุงเทพธุรกิจ. 2561. ข่าว: ‘รมว.ทรัพย์ฯ’ KICK OFF ‘แม่แจ่มโมเดลพลัส’. วันที่ 12 กุมภาพันธ์​ พ.ศ. 2561. กรุงเทพมหานคร. สืบคืนเมื่อเมษายน 2561.
  12. กระทรวงการต่างประเทศ ประเทศไทย. 2560. การทบทวนเรื่องผลการดำเนินงานตามวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน​ ค.ศ. 2030 ในระดับชาติโดยสมัครใจ. กรุงเทพมหานคร.
  13. วิฑูรย์  เลี่ยนจำรูญ และคณะ. โซเชียล วอร์ช ประเทศไทย. 2560. ติดตามการพัฒนาที่ยั่งยืนของไทย: การบูรณาการภาครัฐ-ภาคเอกชน-ภาคประชาชน. กรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อมิถุนายน 2561.  
  14. เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. 2560. ดัชนีและตารางเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน: พันธกิจทั่วโลก. นิวยอร์ก. สืบค้นเมื่อมิถุนายน 2561.
  15. เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. 2560. ดัชนีและตารางเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน: ข้อมูลเฉพาะประเทศ – ประเทศไทย หน้า 224-225. นิวยอร์ก. สืบค้นเมื่อมิถุนายน 2561.
  16. อ้างแล้ว.
  17. Action for Sustainable Development. 2560. รายงานภาคประชาสังคม ประเทศไทย: ประเทศที่เข้าร่วมทบทวนการทำงาน ณ เวทีหารือทางการเมืองระดับสูงปี พ.ศ. 2560. แหล่งที่มาเอกสาร https://action4sd.org/major-groups/hlpf/. สืบค้นเมื่อมิถุนายน 2561
  18. อ้างแล้ว.
  19. มูลนิธิผู้หญิง ประเทศไทย. 2560. รายงานความยุติธรรมในงานพัฒนา​ภาคประชาชน: ติดตามและทบทวนการดำเนินงานตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและความยุติธรรมในงานพัฒนาสำหรับผู้หญิงพื้นเมือง. กรุงเทพมหานคร.  
  20. อ้างแล้ว.
  21. ชนพื้นเมือง ประกอบด้วย 9 กลุ่ม คือ 1) กะเหรี่ยง 2) คะฉิ่น 3) ดาราอาง 4) ไทใหญ่ 5) อิ้วเมี่ยน 6) ม้ง 7) ลัวะ 8) ลาหู่ 9) ลีซู และ 10) อาข่า รัฐบาลใช้คำว่า “ชาติพันธุ์” เพื่อเป็นตัวแทนของชนพื้นเมือง และชนกลุ่มน้อยอื่นๆ ที่อาศัยอยู่ในประเทศ นอกเหนือจากคนไทย ตามมติของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2543 ชนพื้นเมืองแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) ผู้ที่เกิดในประเทศไทยระหว่าง 10 เมษายน พ.ศ. 2453 – 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ซึ่งมีสิทธิได้รับสัญชาติไทย 2) ผู้ที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยก่อนวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2528 มีสิทธิอาศัยอยู่ในไทยอย่างถาวรโดยมีสถานภาพเป็นผู้อพยพ และ 3) ผู้ที่ลักลอบอพยพเข้าเมืองไทยหลังจากวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2528 จะมีสถานภาพเป็นผู้อพยพผิดกฎหมาย
  22. อ้างแล้ว.