ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรน้ำ
ปลดล็อกรายงานตรวจสอบแทนที่ EIA เขื่อนกันคลื่น
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจะใช้ “รายการตรวจสอบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น” เพื่อตรวจสอบข้อเสนอเกี่ยวกับการก่อสร้างกำแพงกันคลื่น เพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งรายการตรวจสอบจะได้รับการออกแบบในลักษณะที่แสดงประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างชัดเจน ซึ่งผู้ยื่นโครงการต้องระบุในการวางแผนโครงการ โดยทางกระทรวงฯระบุว่ารายการตรวจสอบนี้จะเข้ามาแทนที่ข้อกำหนดการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) สำหรับโครงการที่เกี่ยวข้องกับกำแพงกันคลื่นอ่านต่อ ...
อภิญญา วิภาตะโยธิน
ความทะเยอทะยานของจีนในแม่น้ำโขงสร้างความกังวลให้คนไทย (วิดีโอ)
แม่น้ำโขงอาจเป็นแหล่งน้ำที่สำคัญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยหล่อเลี้ยงผู้คนกว่า 60 ล้านคนใน 6 ประเทศ ด้วยความกังวลมายาวนานว่า จีนกำลังพยายามควบคุมแม่น้ำสายนี้อยู่ แต่ในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ประเทศจีนได้หยุดแผนการในที่จะระเบิดเกาะแก่งต่างๆ ตามแม่น้ำโขง หลังจากสร้างความวิตกกังวลให้กับประเทศต่าง ๆ และในเดือนสิงหาคม นายไมค์ ปอมเปโอ รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ ได้กล่าวหาว่า จีนพยายามควบคุมแม่น้ำผ่านการสร้างเขื่อนอย่างสนุกสนาน อันส่งผลต่อชาวประมงไทย เนื่องจากจำนวนปลาที่ลดน้อยลง รวมถึงเกิดภัยแล้งและน้ำท่วมที่ไม่เป็นตามฤดูกาลดูต่อ ...
Yuki Tsang
ระดับน้ำในแม่น้ำโขงแห้งขอดลงสู่ระดับวิกฤติ จนเห็นสันทรายกลางแม่น้ำ
ระดับน้ำในแม่น้ำโขงได้ลดลงสู่ระดับวิกฤติ โดยมีระดับความสูงเพียง 1.50 เมตรเท่านั้น ซึ่งต่ำกว่าปีที่ผ่านมา ในขณะนี้ระดับน้ำได้ลดลงจนสามารถเห็นสันทรายกลางแม่น้ำได้ตลอดสายอีกทั้งปริมาณน้ำฝนที่ไม่เพียงพอ ทำให้อ่างเก็บน้ำในหลายจังหวัด เหลือเพียง 20-30% ของความจุอ่างและแม่น้ำสาขาของแม่น้ำโขงกำลังแห้งขอดอ่านต่อ ...
พัฒนพงษ์ ศรีเพียชัย
ระดับน้ำแม่น้ำโขงในจังหวัดนครพนมได้ลดลงอย่างรวดเร็ว ท่ามกลางความกลัวว่าจะเกิดภัยแล้ง
ตามรายงานของสื่อท้องถิ่นระบุว่า ระดับน้ำแม่น้ำโขงในจังหวัดนครพนมได้ลงลดอย่างรวดเร็ว ซึ่งชี้ให้เห็นถึงปรากฏการณ์ที่ผิดธรรมชาติมากที่สุดในรอบ 50 ปีโดยรายงานดังกล่าว รายงานว่า ระดับน้ำได้ลดลงกว่า 10 – 20 เซนติเมตรต่อวัน และปัจจุบันระดับน้ำอยู่ที่ประมาณ 1.50 เมตรซึ่งอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำล้นตลิ่งๆประมาณ 11 เมตรอ่านต่อ ...
พัฒนพงษ์ ศรีเพียชัย
กรมชลประทานขอร้องเกษตรกรในลุ่มน้ำเจ้าพระยาไม่ให้ปลูกข้าวนาปรัง เนื่องจากการขาดแคลนน้ำ
เกษตรกรในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาอาจไม่สามารถทำการเพาะปลูกข้าวนาปรังในปี พ.ศ.2562 ถึง พ.ศ.2563 เนื่องจากปริมาณน้ำมีไม่เพียงพอต่อความต้องการตามรายงานของกรมชลประทาน ระบุว่า ปริมาณน้ำในเขื่อนหลักทั้ง 4 แห่ง ได้แก่ เขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ มีปริมาณน้ำเพียง 6 พันล้านลูกบาศก์เมตร ที่สามารถนำมาใช้ได้ตลอดช่วงฤดูแล้งที่กำลังจะมาถึงนี้อ่านต่อ ...
#SEAYOUTOMORROW: อนาคตของมหาสมุทร
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายในการกำจัดขยะทะเลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ.2570 โดยใช้หลักการเศรษฐกิจแบบหมุนเวียนในการประชุมสุดยอดอาเซียนปี พ.ศ.2562 นี้ ซึ่งไทยถูกจัดอันดับที่ 6 ของประเทศที่มีขยะพลาสติกในทะเลมากที่สุดในโลกอ่านต่อ ...
ประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงต้องรวมตัวกันเพื่อพัฒนาท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ในการประชุมสองวันของการประชุมระหว่างอาเซียน-สหภาพยุโรป ครั้ง 8 ณ เสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ในวันที่ 20 กันยายนที่ผ่านมา พร้อมข้อเสนอเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการส่งเสริมการเติบโต และการพัฒนาที่ครอบคลุมโดยการประชุมประจำปีว่าด้วยเรื่อง “Enhancing Water Partnership towards the Sustainable Development and Inclusive Growth” จัดขึ้นในระหว่างวันที่ 19-20 กันยายน โดยคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขงของกัมพูชา พร้อมหารือเกี่ยวกับความท้าทาย และโอกาสสำคัญเกี่ยวกับการจัดการลุ่มน้ำข้ามพรมแดนอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
งานสัมมนาพัฒนาศักยภาพทรัพยากรน้ำบาดาล
ปริมาณน้ำสำรอง อาทิเช่น น้ำใต้ดินมีความสำคัญสำหรับโรงเรียน และชุมชนในพื้นที่ห่างไกล กรมทรัพยากรน้ำบาดาลจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และให้ข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรน้ำบาดาลที่มีศักยภาพสำหรับการบริโภคอ่านต่อ ...
สุภาวดี วังศรี
มีบางอย่างผิดปกติในแม่น้ำโขง
แม่น้ำโขงกำลังสั่นคลอนจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การดูดทรายในลำน้ำ และการสร้างเขื่อนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดภัยแล้งที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 100 ปีในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมาอ่านต่อ ...
กรมชลประทานแก้ปัญหาภัยแล้งในลุ่มน้ำเจ้าพระยา
กรมชลประทานได้ประกาศแผนการจัดหาน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคสำหรับชุมชนในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ในขณะเดียวกันก็ยืนยันว่าปริมาณน้ำสำหรับกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่จะเพียงพอตลอดฤดูฝนดูต่อ ...