ข่าว

สมาคมเกษตรฯชี้ ควรใช้ระบบชลประทาน 2 ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยารับมือน้ำท่วม

สมาคมเกษตรกรไทยเสนอให้น้ำที่ไหลบ่าจากทางภาคเหนือผ่านจังหวัดนครสวรรค์ ควรใช้ระบบชลประทาน 2 ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา แทนที่จะปล่อยให้กระแสน้ำไหลลงสู่เขื่อนเจ้าพระยาในจ.ชัยนาทนายปราโมทย์ เจริญศิลป์ นายกสมาคมฯ กล่าวว่า มีข้อเสนอแนะให้กรมชลประทานพิจารณาขณะที่กรมชลประทานกำลังมุ่งควบคุมการปล่อยน้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา ซึ่งได้รับน้ำปริมาณมากจากทางเหนืออ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ประยุทธ์เร่งทำแผนน้ำป้องกันน้ำท่วมภาคกลาง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้พยายามที่จะบรรเทาความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นในแม่น้ำเจ้าพระยา โดยพล.อ.ประยุทธ์กล่าวว่าได้จัดทำแผนการจัดการน้ำเพื่อป้องกันภัยพิบัติดังกล่าวไม่ให้เกิดขึ้นพล.อ.ประยุทธ์ประกาศยืนยันหลังจากที่ตรวจสอบสถานการณ์น้ำที่เขื่อนเจ้าพระยาในจังหวัดชัยนาท เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาหลายคนแสดงความกังวลเกี่ยวกับน้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้นจากระดับที่เพิ่มขึ้นตามแม่น้ำ ซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่ไหลจากที่ราบภาคกลางถึงกรุงเทพฯ และอ่าวไทยเป็นระยะทาง 372 กิโลเมตรอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

แม่น้ำเจ้าพระยาระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น แต่น้ำท่วมกรุงเทพฯ 'เสี่ยงต่ำ'

เมื่อวันเสาร์ กรมชลประทานประกาศเตือนว่า ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มสูงขึ้น แต่ความเสี่ยงน้ำท่วมกรุงเทพฯยังคงต่ำ แม้ว่าจะมีน้ำท่วมในพื้นที่ 13 จังหวัดนายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า ร่องมรสุมที่ปกคลุมตอนล่างของภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ทำให้มีฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ และพิจิตร ส่งผลให้ระดับน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาในจังหวัดนครสวรรค์เพิ่มสูงขึ้นอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

เตรียมผันน้ำเข้าแม่น้ำเจ้าพระยาลดความเค็ม

คณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติได้อนุมัติแผนการที่จะผันน้ำจากแม่น้ำแม่กลองไปยังเจ้าพระยา เพื่อลดความเค็ม และรักษาคุณภาพน้ำดิบสำหรับการผลิตน้ำประปาพลเอกประวิทย์ วงษ์สุวรรณ ประธานคณะกรรมการ และรองนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา คณะกรรมการมีมติเห็นชอบกับข้อเสนอที่จะผันน้ำมากขึ้น เพื่อป้องกันการรุกล้ำของน้ำเค็ม พร้อมขอให้กรมชลประทานและการประปานครหลวงจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ไทยอาจเจอภัยแล้งที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 40 ปี จนน้ำประปาของกรุงเทพฯ อาจกลายเป็นน้ำเค็ม

ผู้อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ บางรายอาจกำลังลิ้มรสความเสี่ยงของภัยแล้งที่อาจเกิดขึ้นในประเทศไทย เนื่องจากภาวะน้ำประปาเค็มในบางพื้นที่ของกรุงเทพฯ ซึ่งเกิดจากภัยแล้งที่ทำให้ปริมาณน้ำจืดในแม่น้ำเจ้าพระยาลดน้อยลง ส่งผลให้น้ำทะเลเกิดการรุกล้ำเข้ามาแผ่นดินการรุกล้ำของน้ำเค็มเป็นเพียงสัญญาณเดียวของสภาพอากาศแห้ง ซึ่งชี้ให้เห็นถึงการคาดการณ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาที่พยากรณ์ว่าจะเป็นภัยแล้งที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 40 ปีอ่านต่อ ...

รัฐบาลขอให้เกษตรกรงดปลูกข้าวนาปรังเนื่องจากปัญหาภัยแล้ง

ทางรัฐบาลได้ขอให้เกษตรกรใน 22 จังหวัด งดปลูกข้าวนาปรัง เนื่องจากประเทศอาจต้องเผชิญกับสภาวะภัยแห้งหลักระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำหลักต่างแห้งขอดประเทศไทยซึ่งเป็นผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่อันดับ 2 ของโลกรองจากอินเดียมีแนวโน้มที่จะไม่มีน้ำเพียงพอต่อการเพาะปลูกข้าวนาปรังประมาณ 960,000 เฮกตาร์ (6 ล้านไร่) รอบลุ่มน้ำเจ้าพระยาในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้านี้อ่านต่อ ...

พนารัตน์ เทพกำปนาท

กรุงเทพมหานครเรียกร้องให้ประชาชนริมฝั่งแม่น้ำงดเว้นการทิ้งขยะลงแม่น้ำเจ้าพระยา

กรุงเทพมหานครมีความพยายามที่จะฟื้นฟูสภาพแม่น้ำเจ้าพระยาให้ใสสะอาดยิ่งขึ้น โดยกระตุ้นให้ผู้อยู่อาศัยริมแม่น้ำงดเว้นการทิ้งขยะ และผลักดันการเสนอชื่อแม่น้ำเจ้าพระยาให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมดูต่อ ...

การรณรงค์ต่อต้านการทิ้งขยะในแม่น้ำเจ้าพระยา

กรุงเทพมหานครสนับสนุนแม่ค้าที่ขายของบริเวณพื้นที่ปากคลองตลาดอนุรักษ์แม่น้ำเจ้าพระยาโดยไม่ทิ้งขยะลงในแม่น้ำ ซึ่งสอดคล้องกับแผนเรียกร้องให้ยูเนสโกลงทะเบียนแม่น้ำเจ้าพระยาให้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมในปีนี้อ่านต่อ ...

Tewit Kemtong

กรมชลประทานแก้ปัญหาภัยแล้งในลุ่มน้ำเจ้าพระยา

กรมชลประทานได้ประกาศแผนการจัดหาน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคสำหรับชุมชนในลุ่มน้ำเจ้าพระยา ในขณะเดียวกันก็ยืนยันว่าปริมาณน้ำสำหรับกิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่จะเพียงพอตลอดฤดูฝนดูต่อ ...

หนทางสู่ของสุขภาพที่ดีในอนาคต

การพลิกโฉมกรุงเทพฯครั้งยิ่งใหญ่กำลังจะเริ่มขึ้นก่อนวันครบรอบ 250 ปี ในฐานะเมืองหลวงของไทยด้วยสวนลอยฟ้าพระปกเกล้าสกายปาร์ค ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา การใช้ประโยชน์จากการยกเลิกโครงการรถไฟฟ้าช่วงลาวาลิน ซึ่งตั้งอยู่เลนกลางของสะพานพระปกเกล้า ข้างสะพานพระพุทธยอดฟ้า โดยมีกำหนดแล้วเสร็จในเดือนมีนาคมปีหน้าอ่านต่อ ...

ภัทรวดี ภัทรนาวิก

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

TgkV5
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!