ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ระบบการผลิตอาหารส่งผลร้ายต่อโลก

วิธีการที่เราผลิต บริโภค และกำจัดอาหาร คือสิ่งที่ไม่ยั่งยืนอีกต่อไป โดยสิ่งนี้ชัดเจนมากจากรายงานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติฉบับใหม่ ซึ่งเตือนให้ต้องคิดทบทวนว่าต้องผลิตอาหารอย่างไร — เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบที่ร้ายแรงที่สุดจากการผลิตอาหารทั่วโลก รวมถึงการทำลายป่าครั้งใหญ่ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ และเร่งการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอ่านต่อ ...

ชาวป่าเป็นกุญแจสำคัญในการแก้ปัญหาสภาพภูมิอากาศ

ในขณะนี้ ธารน้ำแข็งบนเกาะกรีนแลนด์กำลังละลายในอัตราต่อวันสูงถึง 4.4 ล้าน เทียบกับสระว่ายน้ำมาตรฐานและกรุงเทพฯอาจจมอยู่ใต้น้ำได้เร็วกว่าที่คาดคิดไว้ซึ่งข่าวร้ายไม่ใช่เพียงเท่านั้น ชั้นดินเยือกแข็งอาร์กติก (Permafrost) ยังคงละลายอย่างรวดเร็วด้วยคลื่นความร้อนที่เลวร้ายที่สุดเท่าที่โลกเคยบันทึกไว้ ชั้นดินเยือกแข็งที่หลอมละลายนั้นได้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจำนวนมากที่ติดอยู่ในน้ำแข็งเป็นพันปี เป็นเหตุให้เร่งภาวะโลกร้อนให้เลวร้ายเร็วขึ้นอ่านต่อ ...

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างไร?

ประเทศต่างๆทั่วโลกกำลังประสบกับความต้องการในการปกป้องประชากร และความสามารถในการผลิตของตน เมื่อต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ด้านสภาพภูมิอากาศ โดยประเทศไทยได้เริ่มใช้ยุทธศาสตร์ที่มีศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นตัวการสำคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดูต่อ ...

งานวิจัยพบว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะเป็นจุดจบของอารยธรรมมนุษย์

จากการวิเคราะห์ มีการคาดการณ์ว่าจะเกิดผลลัพธ์ที่รุนแรงหากอุณหภูมิเพิ่มขึ้นมากกว่า 3 องศาเซลเซียสภายในปี พ.ศ.2593 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นภัยคุกคามที่ยิ่งใหญ่ที่สุดต่อความมั่นคงของโลก และต้องการการตอบสนองอย่างทันท่วงทีมิฉะนั้นจะสายเกินไปที่จะหลีกเลี่ยงสถานการณ์ “โลกร้อน” และเป็นการสิ้นสุดของอารยธรรมมนุษย์อ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศทำให้จำนวนสัตว์ทะเลลดลงถึงร้อยละ 17

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ทำให้มหาสมุทรนั่นว่างเปล่า โดยนักวิจัยได้คำนวณยอดการสูญเสียพบว่ามีจำนวนเกือบหนึ่งในห้าของสิ่งมีชีวิตในทะเลทั้งหมดโลกในปัจจุบัน มีอุณหภูมิที่สูงขึ้นสามถึงสี่องศาเซลเซียสเมื่อเทียบกับระดับก่อนปฎิวัติอุตสาหกรรม โดยเกิดการทำลายล้างชีวมวลทางทะเลถึงร้อยละ 17 นับตั้งแต่แพลงก์ตอนจิ๋วไปจนถึงวาฬหนัก 100 ตันตามรายงานของ US Proceedings of the National Academy of Scienceอ่านต่อ ...

บทบาทที่สำคัญของพันธบัตรสีเขียว

มีเพียงไม่กี่ประเทศที่เข้าใจถึงอันตรายของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ดีกว่าประเทศไทย อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นมาเป็นเวลาหลายสิบปี ปริมาณฝนเพิ่มขึ้น และเหตุการณ์สภาพอากาศรุนแรงบ่อยครั้ง เช่น ลมมรสุม น้ำท่วม และภัยแล้ง หากไม่มีการดำเนินการอย่างเร่งด่วนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจสร้างความเสียหายต่อข้าวที่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทย และท้ายที่สุดกรุงเทพจะจมอยู่ใต้น้ำทะเลอ่านต่อ ...

เปิดตัวแคมเปญเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการทำนาข้าว

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้กล่าวถึงโครงการ Thai Rice NAMA จะเข้าถึงเกษตรกรผู้ปลูกข้าวกว่า 100,000 ครัวเรือนในประเทศไทย โดยเป็นการเปลี่ยนรูปแบบการทำเกษตรแบบดั้งเดิมไปเป็นแบบปล่อยมลพิษต่ำซึ่งโครงการนี้จะทำงานร่วมกับเกษตรกร และสมาคมต่าง ๆ ตลอดจนผู้ให้บริการภายนอก ในการปรับแนวทางการทำการเกษตรขั้นสูง และพัฒนาแผนการจูงใจที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสนับสนุนทางการเงินอ่านต่อ ...

นักสิ่งแวดล้อมไทยเข้าร่วมประท้วงหาทางแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ในวันศุกร์ที่ผ่านมา ประชาชนที่อยู่ในแวดวงสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยต่างเข้าร่วมกิจกรรมด้านสภาพภูมิอากาศที่จัดขึ้นทั่วโลก เพื่อรณรงค์หาทางแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผู้คนมากกว่า 100 คนเข้าร่วมในงาน “Climate Strike Bangkok” ในใจกลางเมืองกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแคมเปญใหญ่ “Climate Strike for For Future” ที่จัดขึ้นพร้อมกันใน 2,350 เมืองใน 25 ประเทศทั่วโลกอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

รายงานสถานการณ์ปะการังฟอกขาวในน่านน้ำไทย

กรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง (DMCR) รายงานการเกิดปะการังฟอกขาวหลายพื้นที่ทั้งในทะเลอันดามัน และอ่าวไทยเนื่องจากอุณหภูมิของทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งในขณะนี้ทางกรมกำลังติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดดูต่อ  ...

กรุงเทพฯกำลังจะจมในไม่ช้า

สำหรับประชาชนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไทย จำนวนมากกว่า 10 ล้านคน การเกิดน้ำท่วมเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจำ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมือง ที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของลุ่มน้ำเจ้าพระยา รวมถึงสภาพภูมิประเทศที่มีความสูง-ต่ำ โดยเฉลี่ยประมาณ 1.5 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยปกติแล้วเมืองนี้จะมีช่วงฤดูฝนถึงหกเดือนในทุกปี นับตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

Ppttb
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!