ข่าว

รัฐบาลใหม่ของประเทศไทยควรดำเนินการพัฒนาสิทธิแรงงานข้ามชาติ

แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จากข้อมูลของสหประชาชาติ ประมาณการแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยอยู่ที่ 4.9 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 10 ของแรงงานทั้งหมดทั่วประเทศผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศไทยประมาณอยู่ที่ร้อยละ 4.3 ถึง 6.6  ซึ่งเป็นผลโดยตรงมาจากแรงงานของพวกเขา แรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่มาจากประเทศที่ค่อนข้างยากจนในภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งกัมพูชา พม่า และลาวอ่านต่อ ...

Zachary Frye

ความร่วมมือด้านแรงงานข้ามชาติระหว่าง ประเทศไทยและกัมพูชา

การปกป้องสิทธิแรงงานข้ามชาติ และการเสริมสร้างการพูดคุยของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายฝ่าย เพื่อป้องกันการค้ามนุษย์ระหว่างไทยและกัมพูชาจะถูกจัดขึ้นที่ศูนย์ประชุมนานาชาติ ณ จังหวัดเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา ในวันที่ 25 เมษายนที่ผ่านมาอ่านต่อ ...

Sreypov Men

แรงงานต่างด้าวได้รับอนุญาตให้เดินทางออก/เข้าประเทศไทยได้เสรี ตั้งแต่วันที่ 5 - 30 เมษายน

คณะกรรมการนโยบายการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าว และการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน (กนร.) กำลังวางแผนที่จะเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อรองรับแรงงานข้ามชาติที่เดินทางกลับประเทศก่อนและหลังเทศกาลสงกรานต์ ในระหว่างวันที่ 5 – 30 เมษายนดูต่อ ...

แรงงานย้ายถิ่นกัมพูชากำลังเสี่ยงในประเทศไทย

รายงานการย้ายถิ่นของประเทศไทย พ.ศ. 2562 ประมาณการว่าในปัจจุบันประเทศมีผู้อยู่อาศัยที่ไม่ใช่ชาวไทยประมาณ 4.9 ล้านคน โดยมีแรงงานย้ายถิ่นจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และเวียดนาม จำนวนประมาณ 3.9 ล้านคน ที่รอหนังสือรับรอง และไม่มีหนังสือรับรองประเทศไทยได้รับประโยชน์อย่างมากจากการมีอยู่ของแรงงานย้ายถิ่น โดยรายงานระบุว่า แรงงานย้ายถิ่นช่วยเติมเต็มปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึ่งมีส่วนช่วยในการเติบโตทางเศรษฐกิจและมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามสังคมผู้สูงวัยของไทยอ่านต่อ ...

นักวิจัยชี้แรงงานภาคประมงกำลังเบี่ยงเบนความสนใจจากแรงงานภาคอื่น ๆ

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา นักวิจัยกล่าวว่า แรงงานข้ามชาติหลายล้านคนในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง การเกษตร และปศุสัตว์ของไทยต้องทรมานกับการเอารัดเอาเปรียบ แต่ในปัจจุบันกำลังมุ่งเน้นไปในภาคการประมงที่ดึงความสนใจไปอ่านต่อ ...

รัฐบาลเตรียมรื้อแผนห้ามใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในไทย

ในวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา คณะกรรมการนโยบายจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวเตรียมนำนโยบายที่ห้ามไม่ให้แรงงานข้ามชาติเข้ามาทำงานเป็นแรงงานไร้ฝีมือในประเทศไทยกลับมาใช้อีกครั้งพลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานกล่าวว่ามีเพียงแรงงานข้ามชาติจากประเทศที่ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MoU) เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศไทยเท่านั้นที่สามารถทำงานในฐานะแรงงานไร้ฝีมือในประเทศได้อ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

มูลนิธิ LPN จัดอบรมส่งเสริมสิทธิแรงงานข้ามชาติ

มูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน (LPN) โดยมีนายสมพงษ์ สระแก้ว ผู้อำนวยการ และผู้ก่อตั้งได้จัดทำโครงการฝึกอบรม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานข้ามชาติ ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายแรงงาน และสวัสดิการตามกฎหมายแรงงานไทยอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ความล้มเหลวของโครงการสวัสดิการในแรงงานข้ามชาติ

แรงงานต่างด้าวหลายคนในประเทศไทยรู้สึกถึงความไม่มั่นคง และถูกเอาเปรียบภายใต้โครงการสวัสดิการของประเทศที่มีอยู่ หลังจากผ่านไป 13 ปีในประเทศไทย นายเนย์ ซามู ได้เห็นชาวพม่าหลายคนสูญเสียแขนขาในขณะทำงาน และพวกเขายังไม่ได้รับค่าชดเชยใดๆเลยอ่านต่อ ...

กรรวี ปัญญาศุภคุณ

รมต.แรงงานบรรยายสรุปมาตราการแก้ไขการขาดแคลนแรงงานในภาคการประมงของไทย

พลเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการประชุมในวันพฤหัสบดี (8 พ.ย.) ที่ผ่านมา เพื่อขับเคลื่อนมาตรการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการประมงของประเทศไทยอ่านต่อ ...

ธนกร เสงี่ยม

ไทยรับแรงงานต่างด้าวทำงานในภาคประมงทะเลผ่านระบบ MOU

เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2561 พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน พร้อมด้วยนายเต็ง ส่วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ตรวจคนเข้าเมือง และประชากร สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ได้ร่วมกันเปิดศูนย์แรกรับเข้าทำงานและสิ้นสุดการจ้างจังหวัดระนองเพื่อรองรับแรงงานเมียนมาที่จะเข้ามาทำงานในภาคประมงทะเลเป็นการเฉพาะ ซึ่งเป็นการดำเนินงานตามผลการหารือระหว่างไทยกับเมียนมาผ่านระบบบันทึกความเข้าใจแบบรัฐต่อรัฐ (MOU) โดยจะมีแรงงานจากเมียนมาเข้ามาทำงานในภาคประมงทะเลที่ผ่านระบบ MOU ชุดแรกจำนวน 67 คนอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

U5U4V
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!