ASEAN Today

การศึกษาแสดงให้เห็นว่าภัยแล้งในแม่น้ำโขงผลักดันการปล่อยก๊าซคาร์บอน ต้นทุนพลังงาน เมื่อเขื่อนแห้งขอด

งานวิจัยใหม่แสดงให้เห็นว่าโรงไฟฟ้าพลังน้ำในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงจะมีความยั่งยืนน้อยลงเนื่องจากภัยแล้งบังคับให้ประเทศต่างๆต้องพึ่งพาโรงไฟฟ้าถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติทำให้การปล่อยก๊าซคาร์บอนและค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้น การค้นพบนี้นำเสนอปัญหาสำหรับแผนการสร้างเขื่อนของประเทศในลุ่มน้ำโขง เนื่องจากโรงไฟฟ้าพลังน้ำเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและมีความน่าเชื่อถือน้อยกว่าแหล่งพลังงานหมุนเวียนอื่น ๆตามการศึกษาใหม่ของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและการออกแบบแห่งสิงคโปร์ (SUTD) และมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียซานตาบาร์บาราระบุว่าความแห้งแล้งที่เกิดขึ้นเป็นเวลานานในภูมิภาคลุ่มน้ำโขงอาจทำให้เกิดการปล่อยก๊าซคาร์บอนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว อ่านต่อ ...

ภูมิรัฐศาสตร์แสดงให้เห็นข้อสงสัย เกี่ยวกับเขื่อนและสนธิสัญญาในแม่น้ำโขง

ช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา ได้เห็นพัฒนาการใหม่ของความตึงเครียดที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องในแม่น้ำโขงและน่านน้ำ ในขณะที่ลุ่มแม่น้ำเผชิญกับวิกฤตทางนิเวศวิทยาและน่านน้ำก็ได้มีบทบาทมากขึ้นในด้านภูมิรัฐศาสตร์ประเทศไทยได้ประกาศว่ากำลังพิจารณาการตัดสินใจซื้อไฟฟ้าจากเขื่อนสานะคา ซึ่งเป็นโครงการไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่บนแม่น้ำโขงในประเทศลาวอีกครั้งอ่านต่อ ...

วิกฤตเศรษฐกิจ การประท้วง ส่งผลให้เกิดการต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดินในแง่มุมใหม่

ในขณะที่เศรษฐกิจของประเทศไทยแตกสลายภายใต้สถานการ์ของโรคระบาดโควิด 19 การถือครองที่ดินและการเข้าถึงเป็นกุญแจสำคัญในความสามารถของชุมชนหลายแห่งในการขจัดวิกฤต และท่ามกลางการประท้วงที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง ทำให้ประเทศไทยต้องตัดสินใจว่าจะจัดการกับช่องว่างความมั่งคั่งและความต้องการของชุมชนชนบทที่มีรายได้น้อยอย่างไรอ่านต่อ ...

เกษตรกรไทยกำลังพยายามหาวิธีใหม่ในการปลูกข้าว

ในภาคกลางของประเทศไทย เกิดโครงการการเกษตรแบบใหม่ที่ทำงานร่วมกับเกษตรกร เพื่อเปลี่ยนวิธีการปลูกข้าวที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว พร้อมกับประหยัดน้ำเวลา และเงินโดยโครงการนี้ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลไทยและองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ซึ่งมีเป้าหมายที่จะให้เกษตรกรกว่า 100,000 ครัวเรือน ในพื้นที่ราบภาคกลางใช้วิธีการทำนาข้าวทางเลือกที่เรียกว่าการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง ซึ่งจะปล่อยให้มีน้ำท่วมเป็นระยะ ๆ แทนที่จะเป็นตลอดช่วงฤดูเพาะปลูกอ่านต่อ ...

การฆ่าตัวตายจากวิกฤต COVID-19ในประเทศไทยของ ชี้ให้เห็นถึงความเสียหายจากความไม่เท่าเทียม

เมื่อประเทศไทยจำเป็นต้องชัตดาวน์ เพื่อการแพร่กระจายของโควิด-19 ทำให้ประชาชนจำนวนมากต้องสูญเสียรายได้ และยอดการฆ่าตัวตายได้พุ่งขึ้น ซึ่งบางครั้งก็เป็นรูปแบบของการประท้วงวิกฤตดังกล่าวชี้ให้เห็นถึงความไม่เท่าเทียมกันของประเทศ และชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการปฏิรูปเศรษฐกิจ รวมถึงระบบการเมืองที่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนอ่านต่อ ...

GEPP สตาร์ทอัพ ตั้งเป้าลดขยะของประเทศไทย โดยช่วยให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากการรีไซเคิล

ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างกำลังประสบปัญหาด้านของเสีย การนำเข้าขยะพลาสติกไปยังภูมิภาคนี้ได้ถูกขัดขวาง เนื่องจากจีนห้ามนำเข้ารีไซเคิลพลาสติกส่วนใหญ่ ในปี พ.ศ.2560 และรัฐบาลทั่วทั้งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่างดิ้นรน เพื่อจัดการกับขยะในประเทศ แต่ทว่าประเทศไทยยังคงใช้ถุงพลาสติกมากถึง 200,000 ล้านชิ้นต่อปีอ่านต่อ ...

Skylar Lindsay

ข้อตกลงการค้าของสหภาพยุโรป - เวียดนามทำให้เกิดความกังวลในประเทศไทย

เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ณ กรุงฮานอย เจ้าหน้าที่เวียตนามและสหภาพยุโรปได้ลงนามในข้อตกลงการค้าเสรีฉบับใหม่ โดยในข้อตกลงการค้าเสรีและข้อตกลงการคุ้มครองการลงทุนเวียดนาม-สหภาพยุโรป จะมีลดภาษีและอำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างทั้งสองฝ่ายอ่านต่อ ...

รัฐบาลใหม่ของประเทศไทยควรดำเนินการพัฒนาสิทธิแรงงานข้ามชาติ

แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จากข้อมูลของสหประชาชาติ ประมาณการแรงงานข้ามชาติในประเทศไทยอยู่ที่ 4.9 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนมากกว่าร้อยละ 10 ของแรงงานทั้งหมดทั่วประเทศผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ของประเทศไทยประมาณอยู่ที่ร้อยละ 4.3 ถึง 6.6  ซึ่งเป็นผลโดยตรงมาจากแรงงานของพวกเขา แรงงานข้ามชาติส่วนใหญ่มาจากประเทศที่ค่อนข้างยากจนในภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งกัมพูชา พม่า และลาวอ่านต่อ ...

Zachary Frye

ความเหลื่อมล้ำของประเทศไทยสูงที่สุดในโลก: สิ่งนี้จะมีความหมายต่อการเลือกตั้งครั้งต่อไปหรือไม่

ขณะนี้ประเทศไทยมีช่องว่างความเหลื่อมล้ำที่มากที่สุดในโลกตามรายงานของ Credit Suisse รายงานความมั่งคั่งทั่วโลก (Global Wealth Report) และ Databook ซึ่งตีพิมพ์เมื่อเดือนธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่ากลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทยร้อยละ 1 ครอบครองความมั่งคั่งได้เกือบร้อย 67 ของประเทศบรรดากลุ่มก้อนทางการเมืองต่าง นับตั้งแต่ กลุ่มเสรีนิยม “เสื้อแดง” ไปจนถึงพรรคพลังประชารัฐที่มีรัฐบาลทหารหนุนหลัง และภาคเอกชนยอมรับว่าความเหลื่อมล้ำเป็นภัยคุกคามต่อเสถียรภาพทางสังคมของประเทศไทยอ่านต่อ ...

อะไรอยู่เบื้องหลังการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยในไตรมาสแรก

การเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ของไทย เพิ่มขึ้นสู่ระดับสูงสุดในรอบ 5 ปี ในไตรมาสที่ 1 ของปีพ. ศ. 2561 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ 4.8 ในไตรมาสที่ผ่านมาสูงกว่าคาดการณ์ การเพิ่มขึ้นทำให้สำนักงานสถิติแห่งชาติประเมินการคาดการณ์การเติบโตของปีนี้ โดยปัจจุบันการประมาณการเติบโตของปี พ.ศ. 2561 อยู่ที่ระดับ 4.2 – 7.7% เพิ่มสูงจากระดับ 3.6 – 4.6% ในปีที่ผ่านมาอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

EzHBM
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!