ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มลภาวะและของเสีย
แม่น้ำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังถูกคุกคาม
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีแม่น้ำหลายสายทั้งแม่น้ำสายเล็กๆ ไปจนถึงแม่น้ำสายหลัก แม่น้ำที่รู้จักกันดีที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ แม่น้ำโขง ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศในภูมิภาคนี้แม่น้ำโขงเป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดอันดับที่ 12 ของโลก เป็นแหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับอุปโภคบริโภค การทำประมงน้ำจืด และการเกษตรสำหรับผู้คนนับล้าน แต่ทว่าแม่น้ำโขงก็ยังเป็นที่ทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูล ซึ่งทำให้แม่น้ำโขงกลายเป็นหนึ่งในแม่น้ำที่มีมลพิษมากที่สุดในภูมิภาคอ่านต่อ ...
ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองในกรุงเทพฯ กำลังกลับมา
ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองได้กลับมาเยือนกรุงเทพฯ อีกครั้งในเช้าวันอังคาร หลังระดับ PM 2.5 เกินระดับความปลอดภัยในสถานีตรวจสอบ 7 แห่ง โดยมีค่าสูงถึง 57 ไมโครกรัมต่ออากาศลูกบาศก์เมตรสำนักงานสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร รายงานว่าระดับฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) สูงกว่าระดับที่ปลอดภัยในเขตบางเขน หลักสี่, ภาษีเจริญ บางซื่อ ปทุมวัน บางคอแหลม และคลองสานอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
กรมควบคุมมลพิษเตรียมตรวจสอบน้ำเสียจากอาคารในปีหน้า
กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) จะเปิดตัวแคมเปญตรวจสอบน้ำเสียในอาคารของรัฐบาลทั่วประเทศในต้นปีหน้านายประลอง ดำรงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กล่าวกับสื่อว่า โครงการ คือ การดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหาน้ำเสีย ซึ่งเพิ่มขึ้น 60% ของน้ำเสียที่ปล่อยออกมาจากอาคารสำนักงานของรัฐอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
รัฐบาลเรียกร้องให้อาสาสมัครต่อสู้กับวิกฤตขยะพลาสติก
รัฐบาลได้ขอความช่วยเหลือจากอาสาสมัครด้านสิ่งแวดล้อมกว่า 230,000 ราย ในการรณรงค์เพื่อช่วยลดขยะพลาสติกในประเทศนายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) กล่าวในระหว่างการประชุมเครือข่ายอาสาสมัครว่า “อาสาสมัครเหล่านี้จะทำตัวเป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อการอนุรักษ์ และเตือนผู้คนถึงวิกฤตที่เกิดขึ้น”อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
เปิดตัวกองทุนจัดการวิกฤตการณ์ขยะพลาสติกแห่งเอเชีย
กองทุนเพื่อการลงทุนตั้งเป้าหมายในโครงการการจัดการขยะรีไซเคิลในเอเชีย หลังมีการเปิดตัวกองทุนในวันพุธที่ผ่านมา โดยบริษัทจัดการกองทุนที่ตั้งอยู่ในประเทศสิงคโปร์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากผู้บริโภคและผู้ผลิตเคมีภัณฑ์รายใหญ่ที่สุดของโลกCirculate Capital LLC บริษัทด้านการลงทุนเพื่อสังคม (Impact Investment) กล่าวในแถลงการณ์ว่ากองทุน Circulate Capital Ocean จะเป็นกองทุนแรกของโลกที่มุ่งเน้นไปที่วิกฤตพลาสติกของเอเชีย อ่านต่อ ...
ประเทศไทยและอาเซียนพยายามที่จะแก้ไขปัญหาปัญหาขยะพลาสติกในทะเล [วิดีโอ]
เศษพลาสติกทางทะเลเป็นปัญหาข้ามพรมแดนที่สำคัญ แต่ประเทศไทย และอาเซียนได้จัดการปัญหาที่ท้าทายนี้อย่างไร NBT World มีโอกาสพูดคุยกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับเรื่องนี้ดูต่อ ...
สถานประกอบการกว่า 50% เพิกเฉยต่อคำสั่งห้ามปล่อยน้ำเสียลงสู่คลองภาคกลางของประเทศไทย
กรมควบคุมมลพิษ กล่าวว่า มีจำนวนสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 50% ที่เพิกเฉยต่อคำสั่งเกี่ยวกับการปล่อยน้ำเสียลงสู่คลองแสนแสบ ซึ่งเป็นคลองที่เชื่อมโยงแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพฯ เข้ากับจังหวัดภาคกลางของประเทศไทยได้แก่ ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทราThe Nation รายงานว่าในระหว่างปี พ.ศ.2559 ถึงปี พ.ศ.2562 มีสถานประกอบการกว่า 289 แห่งจากทั้งหมด 600 แห่ง ขัดขืนระเบียบของกรมควบคุมมลพิษเรื่องการระบายน้ำเสียลงสู่คลอง โดยนายประลอง ดำรงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษได้ยืนยันว่าเรื่องดังกล่าวได้เกิดขึ้นจริงอ่านต่อ ...
May Taylor
พบขยะ 'พลาสติก' ในกระเพาะกวางป่ากว่า 7 กก.
เมื่อวันอังคาร (26 พ.ย.)ที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ได้พบกวางป่านอนตาย โดยมีถุงพลาสติกและขยะอื่น ๆ หนักกว่า 7 กิโลกรัม อยู่ภายในกระเพาะอาหาร สร้างความตระหนักถึงปัญหาการทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำและป่าไม้ของประเทศไทยซึ่งประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้บริโภคพลาสติกรายใหญ่ที่สุดของโลกโดยคนไทยใช้ถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวมากถึง 3,000 ถุงต่อปีไม่ว่าจะเป็นการห่ออาหาร ใส่กาแฟกลับบ้าน หรือใช้ใส่ของจากร้านขายของชำอ่านต่อ ...
ไทยดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับประเทศทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลมากที่สุดในโลก
ประเทศไทยติด 20 อันดับประเทศที่ก่อมลพิษพลาสติกทางทะเลที่ใหญ่ที่สุด โดยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 10 ดีขึ้น 4 อันดับจากที่ 6 ในปีก่อนหน้า ซึ่งจัดอันดับจากมวลขยะพลาสติกที่มีการจัดการไม่ถูกต้องปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า การปรับปรุงส่วนใหญ่เกิดจากการริเริ่มของรัฐบาล และความพยายามของภาครัฐและภาคเอกชนในการลดถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวและกล่องโฟมบรรจุอาหารอ่านต่อ ...
Greeley Pulitzer
ความเพิกเฉยทางการเมืองเป็นเชื้อเพลิงเพิ่มวิกฤติมลพิษทางอากาศ
นักวิชาการชั้นนำกล่าวว่า มันคงไม่มีหนทางใด นอกเหนือจากที่รัฐบาลนี้มีความพร้อมที่จะหยุดวิกฤติมลพิษทางอากาศไม่ให้ลุกลามจนเกินการควบคุม แม้จะมีการประกาศเป้าหมายของ นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ต้องการแก้ปัญหา PM2.5 ภายในปี พ.ศ.2565 แต่วัฒนธรรมการกำหนดนโยบายดูเหมือนจะมืดบอดกับสิ่งที่ธรรมชาติกำลังบอกเรา แต่ผู้ร่างกฎหมายกลับมองข้ามการคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และมองผลประโยชน์เหนือการแก้ปัญหาอ่านต่อ ...
Supita Roengjit