ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ไทยจะมีฝนน้อยลงในปีหน้า เนื่องจากปรากฏการณ์เอลนีโญ
กรมอุตุนิยมวิทยาเตือนว่าประเทศไทยอาจประสบภาวะแห้งแล้งจากปรากฏการณ์เอลนีโญจนถึงต้นปีหน้าดร.ชมภารี ชมภูรัตน์ อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา กล่าวว่า ปริมาณฝนในทุกภาคของประเทศไทยต่ำกว่าค่าเฉลี่ย แม้ว่าฤดูฝนจะเริ่มต้นมากว่า 1 เดือนแล้วก็ตาม ปริมาณน้ำฝนทั่วประเทศต่ำกว่าค่าเฉลี่ย 25% และคาดการณ์ช่วงแห้งแล้งในหลายภูมิภาคจนถึงวันที่ 17 กรกฎาคม โดยสถานการณ์อาจรุนแรงขึ้นในเดือนพฤศจิกายนและต่อเนื่องไปจนถึงต้นปี พ.ศ.2567อ่านต่อ ...
เอลนีโญที่ยืดเยื้อจะส่งผลกระทบต่อสินค้าเกษตร สัตว์น้ำ และผลไม้ของไทย
เอลนีโญที่ยืดเยื้อยาวนานถึงกลางปี พ.ศ.2567 คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อสินค้าเกษตร สัตว์น้ำ และผลไม้ ส่งผลให้การส่งออกจากไทยลดลงเมื่อวันอังคาร องค์การสหประชาชาติได้ประกาศการมาถึงของปรากฏการณ์เอลนีโญ ซึ่งเกิดจากความร้อนที่เพิ่มขึ้นทั่วโลกและสภาวะแห้งแล้งในบางพื้นที่ โดยคาดว่าประเทศไทยจะมีปริมาณฝนน้อยลง 5% ในปีนี้ และสถานการณ์อาจคงอยู่ไปจนถึงกลางปี พ.ศ.2567ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับการเกษตรและพืชผลของไทย อยู่ที่ประมาณ 1 หมื่นล้านถึง 3 หมื่นล้านบาทอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ไฮโดรเจน แนวทางประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์
รัฐบาลควรออกมาตรการเพื่อส่งเสริมการใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิง เพื่อช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ กล่าวโดย ผู้บริหารระดับสูงของบริษัทก๊าซอุตสาหกรรมระดับโลกคุณปิยบุตร จารุเพ็ญ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแก๊ส จำกัด หรือบีไอจี กล่าวในงานสัมมนา “ไฮโดรเจน พลังงานทางเลือกเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” เมื่อวันที่ 13 มิถุนายนที่ผ่านมา ว่าบริษัทกำลังส่งเสริมการใช้ไฮโดรเจนเพื่อลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
รัฐบาลต้องเตรียมรับมือเอลนีโญ
ผู้เชี่ยวชาญเตือนให้ประเทศไทยเตรียมรับมือกับปริมาณฝนเฉลี่ยที่ต่ำผิดปกติ ซึ่งอาจนำไปสู่ภัยแล้งอันเป็นผลมาจากสภาพภูมิอากาศแบบเอลนีโญ ดังนั้น รัฐบาลต้องดำเนินการเชิงรุกด้วยแผนการจัดการน้ำที่ครอบคลุม เพื่อลดผลกระทบให้เหลือน้อยที่สุด เมื่อวานนี้ (15 มิถุนายน) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ได้จัดประชุมวิชาการด้านการบริหารจัดการน้ำ เพื่อรับมือปรากฏการณ์เอลนีโญซึ่งจะเกิดขึ้นในปีนี้ต่อไปอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
เศรษฐกิจไทยต้องเร่งลดคาร์บอนเนื่องจากข้อจำกัดทั่วโลกเพิ่มขึ้น
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) ได้ออกคำเตือนว่า ประเทศไทยต้องดำเนินการอย่างเด็ดขาดมากขึ้น เพื่อเปลี่ยนแผนการลดคาร์บอนให้เป็นจริงประเทศกำลังเผชิญกับแรงกดดันด้านกฎระเบียบที่เพิ่มขึ้นจากตลาดส่งออกและนักลงทุนต่างชาติ ซึ่งจำเป็นต้องตอบสนองเชิงรุกนายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กล่าวถึง กฎระเบียบสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการส่งออกของไทย นั่นคือ Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM) ที่สหภาพยุโรปนำมาใช้ โดย CBAM จะเรียกเก็บเงินจากผู้ส่งออกที่ไม่ใช้เทคโนโลยีในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
กุญแจความร่วมมือในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประเทศไทยเน้นย้ำถึงความสำคัญของความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระหว่างการประชุมระดับภูมิภาคประจำปี “79th Commission Session [CS79]” เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาการประชุมเรื่อง “การเร่งดำเนินการด้านสภาพอากาศในเอเชียและแปซิฟิกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” จัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ (UNCC) ในกรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 15-19 พฤษภาคม โดยคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (Escap)อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
กรมสรรพสามิตจะเก็บภาษีคาร์บอนใน 3 ภาคส่วน
ภาษีคาร์บอนที่กรมสรรพสามิตได้กำหนดขึ้น คาดว่าจะช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ.2050 และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2063กรมสรรพสามิตวางแผนที่จะเรียกเก็บภาษีคาร์บอนในภาคพลังงาน ภาคการขนส่ง และภาคอุตสาหกรรม เพื่อช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ.2050 และปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2063 ตลอดจนลดต้นทุนการนำเข้าเชื้อเพลิงอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
แนะให้เพิ่มการลดคาร์บอนในระดับภูมิภาค
ตามรายงานของธนาคารพัฒนาเอเชีย ระบุว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จำเป็นต้องเร่งการลดคาร์บอนในห่วงโซ่คุณค่าโลก (global value chains : GVCs) เนื่องจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาจเผชิญกับการสูญเสียผลิตภัณฑ์รวมในประเทศ หรือ จีดีพี มากถึง 30% ต่อปีภายในปี ค.ศ.2100 เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Mr.Winfried Wicklein รองผู้อำนวยการธนาคารพัฒนาเอเชีย กล่าวในการประชุมที่บาหลีว่าอาเซียนเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่เปราะบางที่สุดในแง่ของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในประเทศไทย เพิ่มขึ้นเล็กน้อย หลังการยกเลิกมาตรการคุมเข้มการระบาดของโควิด
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงานกล่าวเมื่อวันอาทิตย์ว่า ประเทศไทยปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 247.7 ล้านตันในปีที่แล้ว เพิ่มขึ้น 1.5% เมื่อเทียบเป็นรายปี เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศฟื้นตัวจากโรคระบาด .นายวัฒนพงษ์ คุโรวาท ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กล่าวว่า การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเกิดจากความต้องการพลังงานที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากการฟื้นตัวของภาคบริการและการท่องเที่ยว ซึ่งเกิดขึ้นจากการยกเลิกมาตรการคุมเข้มการระบาดของโควิด-19อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
การเลือกตั้งทั่วไปปี 2566: พรรคการเมืองใดที่มีนโยบาย 'เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม' มากที่สุด?
การเลือกตั้งทั่วไปจะมีขึ้นในวันที่ 14 พฤษภาคมที่กำลังใกล้เข้ามา พรรคการเมืองส่วนใหญ่ได้เสนอนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม โดยเดอะ เนชั่น พิจารณาถึงสิ่งที่พรรคชั้นนำทั้ง 8 พรรค ได้นำเสนอปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม และไฟป่า ล้วนส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อีกทั้งสภาพอากาศที่รุนแรงในปีที่แล้วเป็นการเตือนมนุษยชาติ ในเหตุการณ์ที่อุณหภูมิในยุโรปสูงขึ้นกว่า 2 เท่าของค่าเฉลี่ยทั่วโลกในรอบ 30 ปี และประเทศไทยประสบอุทกภัยครั้งใหญ่ในภาคตะวันออกอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น