ข่าว

ยุติความเสียหาย

รองศาสตราจารย์สุชนา ชวนิชย์ นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล และทีมงานได้บรรยายงานใหม่ของทีมหลังจากเดินทางไปทั่วโลกรวมถึงแถบทวีปอาร์กติก และแอนตาร์กติก เพื่อสังเกต รวบรวมและศึกษาตัวอย่าง ด้วยภารกิจเพื่อช่วยโลกที่เสื่อมสภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรศ.สุชนา นักชีววิทยาทางทะเลจากภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า “ตอนนี้เราเป็นผู้วางแผนครอบครัวสำหรับแนวปะการัง” และ “หน้าที่ของเรา เพื่อให้แน่ใจว่าเหล่าปะการังสามารถปล่อยไข่และสเปิร์ม เพื่อการสืบพันธุ์ ถ้าไม่เช่นนั้น เราจะหาวิธีช่วยพวกมันให้ได้”อ่านต่อ ...

อรุษา พิสุทธิพันธ์

กรุงเทพฯ ต้องเตรียมแผน เพื่อรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

กรุงเทพฯ ต้องการเริ่มต้นในการปรับตัวต่อความท้าทาย เช่น อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น น้ำท่วม และโรคร้ายที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าในขณะที่ตึกระฟ้า คอนกรีตและถนนเข้าครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของเมืองหลวง รถยนต์ และเครื่องปรับอากาศส่วนใหญ่ต่างพ่นก๊าซเรือนกระจกออกมาสู่เมือง เพื่อต่อสู้ในการรักษาความเย็นอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ไทยจำเป็นต้องเคร่งครัดปฎิบัติตามแผนว่าด้วยการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ

เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมากลุ่มกรีนพีซประกาศเตือนคณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแห่งชาติให้เคร่งครัดในการปฎิบัติตามรายงานขององค์การสหประชาชาติที่เรียกร้องให้มีการกระตุ้นมาตรการในเป้าหมายที่กำหนดไว้ในการป้องกันไม่ให้อุณภูมิของโลกร้อนขึ้น 1.5 ถึง 2 องศาเซลเซียส เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดผลร้ายในอนาคตอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ชาวสวนไทยรู้สึกได้ถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

นางอำไพ มีลาภ ชาวสวนทุเรียนวัย 43 ปี ได้เป็นประจักษ์พยานในการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศถึงภัยคุกคามจากสภาพอากาศที่ไม่อาจคาดการณ์ได้ทุกปีสวนทุเรียนของเธอในอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยองทางภาคตะวันออกของประเทศไทยมีผลผลิตที่ลดลงในปีนี้ หลังต้องเผชิญกับความแห้งแล้ง และฝนตกที่เปลี่ยนแปลงไปอ่านต่อ ...

ปริตตา หวังเกียรติ

แรงกดดันด้านสภาพภูมิอากาศมาถึงกรุงเทพฯ

แม้ว่าประเทศไทยมีความคืบหน้าในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) แต่ก็ยังคงต้องเผชิญกับความท้าทายมากมาย และยังคงมีช่องว่างในการดำเนินงานระดับสากลที่ยังคงต้องดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ข้อเท็จจริงเหล่านี้เกิดขึ้นขณะที่กรุงเทพฯเตรียมจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ในสัปดาห์นี้อ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ผลักดันกองทุนสภาพภูมิอากาศของไทย

Civic Groups เตรียมผลักดันในสัปดาห์หน้า เพื่อสร้างกองทุนสภาพภูมิอากาศ สำหรับผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นโยบายด้านสภาพภูมิอากาศจากบนถึงล่าง และการเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชนในท้องถิ่น เพื่อเพิ่มการรับมือกับสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนเมื่อพวกเขาพบกันในการประชุมที่ได้รับการสนับสนุนจากสหประชาชาติที่กรุงเทพฯองค์กรประชาสังคม นักกิจกรรม และผู้คนที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจากทั่วประเทศไทยได้รวมตัวกันที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเสนอแนะแนวทางในการป้องกัน และลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ. ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ความรุ่งเรืองของถ่านหินจะทำลายความพยายามการป้องกันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

การฟื้นตัวของการค้าถ่านหินทั่วโลกกำลังทำลายความพยายามในการลดภาวะโลกร้อน และป้องกันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศนักวิเคราะห์ด้านพลังงานคาดว่าปริมาณถ่านหินที่ถูกใช้ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอินเดียจะเติบโตขึ้น เนื่องจากความต้องการเชื้อเพลิงที่ราคาถูกที่สุดคือการผลักดันการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว และให้ผลกำไรมหาศาลแก่นักลงทุนในภาคพลังงานไฟฟ้าอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ตลาดหลักทรัพย์ฯร่วมกับพันธมิตรเปิดตัวโครงการ "Care The Bear" เพื่อลดภาวะโลกร้อน

ตลาดหลักทรัพย์ฯ (SET) ร่วมกับ 22 พันธมิตร เปิดตัวโครงการ “Care the Bear: Change the Climate Change by Eco Event” เพื่อส่งเสริมให้ บริษัท ที่จดทะเบียนในไทยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs) – 13 เป้าหมาย : การดำเนินการด้านสภาพภูมิอากาศ โครงการที่มุ่งเป้าที่จะลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2e) 2,000 ตันต่อปี ซึ่งเทียบเท่ากับการปลูกป่า 3,200,000 ตารางเมตรอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

KTYxK
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!