ข่าว

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้ทำลายแนวปะการังไปแล้วกว่าครึ่งโลก

มหาสมุทรเป็นกันชนที่ใหญ่ที่สุดสำหรับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นอันตรายต่อมนุษยชาติ ประมาณ 1 ใน 4 ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดถูกปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศ นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 ตั้งแต่การขับรถยนต์ การดำเนินการของโรงงาน และการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิล เมื่อโลกอุ่นขึ้นจากการปล่อยมลพิษ มหาสมุทรจึงอุ่นขึ้นเป็นครั้งแรกและเร็วที่สุด โดยดูดซับ 90% ของความร้อนส่วนเกินนั้นเอาไว้ จากรายงานที่เผยแพร่เมื่อเดือนที่แล้วโดยคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้าได้ออกมาเตือนว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับมหาสมุทรกำลังเกิดขึ้นในอัตราเร่งและอาจอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับมาได้อีกอ่านต่อ ...

ยุติความเสียหาย

รองศาสตราจารย์สุชนา ชวนิชย์ นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล และทีมงานได้บรรยายงานใหม่ของทีมหลังจากเดินทางไปทั่วโลกรวมถึงแถบทวีปอาร์กติก และแอนตาร์กติก เพื่อสังเกต รวบรวมและศึกษาตัวอย่าง ด้วยภารกิจเพื่อช่วยโลกที่เสื่อมสภาพจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรศ.สุชนา นักชีววิทยาทางทะเลจากภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า “ตอนนี้เราเป็นผู้วางแผนครอบครัวสำหรับแนวปะการัง” และ “หน้าที่ของเรา เพื่อให้แน่ใจว่าเหล่าปะการังสามารถปล่อยไข่และสเปิร์ม เพื่อการสืบพันธุ์ ถ้าไม่เช่นนั้น เราจะหาวิธีช่วยพวกมันให้ได้”อ่านต่อ ...

อรุษา พิสุทธิพันธ์

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

w9t62
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!