รัฐบาล
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
โฉมหน้าบทบาทของไทยในฐานะประธานอาเซียน
เมื่อประเทศไทยจะเข้ารับตำแหน่งประธานอาเซียนในปีหน้า เหมือนเดจาวูกำลังกลับเข้ามาอีกครั้ง ครั้งสุดท้าย เมื่อประเทศไทยได้ครบรอบของประธานอาเซียนจากเดือนกรกฎาคม 2551 ถึงเดือนธันวาคม 2552 ก็ถูกทำลายโดยการประท้วงบนท้องถนนในประเทศ และต้องส่งตัวผู้นำเอเชีย – แปซิฟิกกลับบ้านก่อนเวลาอันควร สิ่งที่เกิดขึ้นต้องบอกว่าการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียนในครั้งนั้นเป็นความล้มเหลวที่สุดอ่านต่อ ...
ฐิตินันท์ พงษ์สุทธิรักษ์
ลงนามสนธิสัญญาการค้าระหว่างไทย - จีน
ไทยกำลังเดินหน้าแผนการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับจีน และตกลงในกรอบความร่วมมือด้านการค้า และหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระหว่างสองประเทศ และขยายการค้าทวิภาคีเป็นสองเท่าใน ปี พ.ศ.2564 มูลค่า 40,000 ล้านเหรียญสหรัฐอ่านต่อ ...
ผุสดี อรุณมาศ
พม่า และไทยลงนามร่วมยกระดับทางหลวงเชื่อมชายแดนไทยสู่เขตเศรษฐกิจทวาย
พม่า และไทยลงนามในข้อตกลงร่วมกันในการยกระดับทางหลวงเชื่อมชายแดนไทย – พม่ากับเขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย (Dawei Special Economic Zone – SEZ) ซึ่งเป็นโครงการขนาด 8 พันล้านเหรียญสหรัฐ ซึ่งประกอบด้วยท่าเรือน้ำลึก โครงการในเขตตะนาวศรีทางตอนใต้ของพม่าได้รับการจัดตั้งให้เป็นเขตอุตสาหกรรมที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อ่านต่อ ...
ท่าเรือแหลมฉบัง-ท่าเรือชินโจว ลงนามท่าเรือพี่น้อง
ท่าเรือแหลมฉบังของไทย และท่าเรือชินโจวของจีนได้ลงนามข้อตกลงท่าเรือพี่น้อง เพื่อส่งเสริมการค้า และการเชื่อมโยงทางทะเลระหว่างไทยและจีน ซึ่งทั้งสองฝ่ายจะจัดตั้งคณะทำงานร่วมกันขึ้น และเป็นเจ้าภาพจัดประชุมดูต่อ ...
จีน และญี่ปุ่นกระชับความสัมพันธ์เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน
สารจากการเดินทางครั้งแรกสู่กรุงปักกิ่ง ของผู้นำญี่ปุ่นในช่วงเจ็ดปีเป็นที่ชัดเจนว่า : ประเทศเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับสองและสามของโลก ต้องให้ความร่วมมือกันไม่ใช่การแข่งขันกัน โดยนายสี จิ้นผิงประธานาธิบดี และนายหลี่ เค่อเฉียงนายกรัฐมนตรีของจีนเข้าประชุมพบปะกับนายชินโซ อาเบะ เพื่อยืนยันว่าความสัมพันธ์ระหว่างจีน และญี่ปุ่นไม่ได้บาดหมางกัน และมีความปรารถนาที่จะทำงาน เพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในวันครบรอบปีที่ 40 ของสนธิสัญญาสันติภาพ และมิตรภาพคำมั่นสัญญาที่ทำขึ้นเพื่อความมั่นคง และข้อตกลงเกี่ยวกับการค้าและการลงทุนเป็นไปอย่างเหมาะสม เป็นกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการกระชับความสัมพันธ์และสร้างสภาพแวดล้อมในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระยะยาวหลังความเกลียดชังและความไม่ไว้วางใจอ่านต่อ ...
กรอบความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้างจะสนับสนุนการพัฒนาภูมิภาค
ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีต่างประเทศของจีนกัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนามได้จัดประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับการจัดตั้งกรอบความร่วมมือแม่โขง – ล้านช้าง (LMC) กรอบการทำงาน LMC ได้รับการจัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 จากประเทศสมาชิก 6 ประเทศ LMC เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของโครงการริเริ่มแถบและเส้นทาง (BRI) และเป็นกลไกที่สำคัญในความร่วมมือระดับภูมิภาคระหว่างจีนกับอาเซียนอ่านต่อ ...
ความร่วมมือในการจัดการอุทยานแห่งชาติข้ามพรมแดน
กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืชกำลังสำรวจโอกาสในการทำงานร่วมกันเป็นพาร์ทเนอร์กับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเพิ่มความพยายามในการปกป้องอุทยานแห่งชาติที่มีลักษณะเป็นฝืนป่าระหว่างแดนโดยกรมได้เชิญเจ้าหน้าที่ป่าไม้จากลาวเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ 2 วัน เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครองระหว่างแดนซึ่งเริ่มดำเนินการแล้ววันนี้ (13 ก.ย.) จากนั้นจะเชิญเจ้าหน้าที่จากมาเลเซียเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการที่คล้ายกันในสัปดาห์หน้าอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ไทย-กัมพูชาจัดประชุมร่วมกันด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชน
ไทยและกัมพูชาจัดประชุมร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนบ้านด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อสารมวลชนพลเอก Has Sam Ath รองอธิบดีกระทรวงสารสนเทศกัมพูชา และ นางวันเพ็ญ อัพตัน ผู้อำนวยการสำนักการประชาสัมพันธ์ต่างประเทศ กรมประชาสัมพันธ์ เป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมคณะกรรมการเทคนิคร่วมไทย – กัมพูชาครั้งที่ 10 ณ โรงแรมอมารี บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด จังหวัดบุรีรัมย์อ่านต่อ ...
ธนกร เสงี่ยม
คณะรัฐมนตรีรับทราบความคืบหน้าในการร่วมมือกับไทย - พม่าในการต่อสู้กับการค้ายาเสพติด
คณะรัฐมนตรีได้รับทราบความคืบหน้าในการร่วมมือกับพม่าในการแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ชายแดนเมื่อวันอังคาร (14 ส.ค.) ที่ผ่านมา พลโท สรรเสิญ แก้วกำเนิด โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเข้าร่วมการแถลงข่าวในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ซึ่งในครั้งนี้เขากล่าวว่าการหารือรายสัปดาห์ที่เกี่ยวกับความร่วมมือไทย – พม่าในการต่อสู้กับการค้ายาเสพติดตามแนวชายแดนอ่านต่อ ...
ประเทศไทยเตรียมรับตำแหน่งประธานอาเซียนในปีพ. ศ. 2562
เรื่องราวการรวมตัวกันของประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เรียกว่า “อาเซียน” เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2510 และนับแต่นั้นเป็นต้นมาได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ นานนับทศวรรษที่อาเซียนมีบทบาทสำคัญในการรักษาเสถียรภาพทางการเมือง ความร่วมมือด้านการลงทุน ตลอดจนอำนวยความสะดวกในการถ่ายทอดเทคโนโลยี และความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นจุดหลอมวัฒนธรรมผ่านการอพยพในเขตภูมิภาคกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่งมีจำนวนประชากรรวมกันมากกว่า 642 ล้านคนอ่านต่อ ...