ข่าว
ทำไมอาเซียนต้องใส่ใจปัญหาแม่น้ำโขง เช่นเดียวกับปัญหาหมอกควัน
แม่น้ำโขงซึ่งไหลผ่านจีน เมียนมาร์ ลาว ไทยกัมพูชา และเวียดนาม ถือเป็นหัวใจของแผ่นดินใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันเป็นที่ดำรงชีวิตของประชากรราว 66 ล้านคน ถึงกระนั้นแม่น้ำก็แห้งขอด โดยมีระดับน้ำต่ำสุดในรอบ 100 ปี ระบบนิเวศก็ใกล้จะล่มสลายจากผลกระทบสะสมจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสร้างเขื่อน และกิจกรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นอื่น ๆ เช่น การตัดไม้ทำลายป่า การขุดทราย การชลประทานที่กว้างขวาง และการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ชุ่มน้ำอ่านต่อ ...
การต่อสู้เพื่อจิตวิญญาณของแม่น้ำโขง
ในเดือนมิถุนายนของปีนี้ ตามรายงานการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำโลกประจำปีของ FAO ได้จัดอันดับให้ลุ่มน้ำโขงเป็นแหล่งประมงน้ำจืดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดในโลกคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 15% ของประมงน้ำจืดประจำปีทั่วโลก ในขณะเดียวกันนักวิจัยของ WWF คาดการณ์ว่าการมีส่วนร่วมนั้นคิดเป็นหนึ่งในสี่ของการจับปลาน้ำจืดของโลก การประมงน้ำจืดขนาดใหญ่นี้มีความสำคัญต่อความมั่นคงด้านอาหารของประชากรหลายสิบล้านคนที่อาศัยอยู่ในกัมพูชาลาว ไทย และเวียดนาม และถูกขับเคลื่อนโดยวัฏจักรการไหลตามธรรมชาติของแม่น้ำโขงอ่านต่อ ...
หกสิบปีของความร่วมมือทางน้ำในลุ่มน้ำโขงเพื่อติดตามการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ในเดือนกันยายนปี พ.ศ.2500 ตัวแทนจาก 4 ประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างได้พบกันที่กรุงเทพฯ เพื่อจัดทำขั้นตอนแรกในการพัฒนาและจัดการทรัพยากรน้ำร่วมกัน โดยข้อตกลงที่ทำขึ้นเป็นการลงนามจัดตั้งคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง ซึ่งเป็นกรรมการชุดก่อนจะเป็นคณะกรรมาธิการลุ่มแม่น้ำโขง (MRC) ซึ่งเป็นรากฐานของความร่วมมือด้านน้ำในภูมิภาคมานานกว่า 60 ปีอ่านต่อ ...
Pham Tuan Phan