ภัยพิบัติ

อุทกภัย

กทม.เตือนภัยน้ำท่วมบ้านเรือน 70,000 หลัง

รัฐบาลได้เร่งปกป้องพื้นที่บางส่วนของกรุงเทพฯ จากน้ำท่วมที่เข้าท่วมบ้านเรือนไปแล้ว 70,000 หลัง และคร่าชีวิตผู้คนไป 6 รายในจังหวัดทางภาคเหนือและภาคกลางของประเทศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า พายุโซนร้อน “เตี้ยนหมู่”  ทำให้เกิดน้ำท่วมใน 30 จังหวัด โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคกลางได้รับผลกระทบมากที่สุด ระดับแม่น้ำเจ้าพระยาที่ไหลผ่านกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง หลังมีการระบายน้ำบริเวณเขื่อนต้นน้ำอ่านต่อ ...

สมาคมเกษตรฯชี้ ควรใช้ระบบชลประทาน 2 ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยารับมือน้ำท่วม

สมาคมเกษตรกรไทยเสนอให้น้ำที่ไหลบ่าจากทางภาคเหนือผ่านจังหวัดนครสวรรค์ ควรใช้ระบบชลประทาน 2 ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา แทนที่จะปล่อยให้กระแสน้ำไหลลงสู่เขื่อนเจ้าพระยาในจ.ชัยนาทนายปราโมทย์ เจริญศิลป์ นายกสมาคมฯ กล่าวว่า มีข้อเสนอแนะให้กรมชลประทานพิจารณาขณะที่กรมชลประทานกำลังมุ่งควบคุมการปล่อยน้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา ซึ่งได้รับน้ำปริมาณมากจากทางเหนืออ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ประยุทธ์เร่งทำแผนน้ำป้องกันน้ำท่วมภาคกลาง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้พยายามที่จะบรรเทาความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นในแม่น้ำเจ้าพระยา โดยพล.อ.ประยุทธ์กล่าวว่าได้จัดทำแผนการจัดการน้ำเพื่อป้องกันภัยพิบัติดังกล่าวไม่ให้เกิดขึ้นพล.อ.ประยุทธ์ประกาศยืนยันหลังจากที่ตรวจสอบสถานการณ์น้ำที่เขื่อนเจ้าพระยาในจังหวัดชัยนาท เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาหลายคนแสดงความกังวลเกี่ยวกับน้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้นจากระดับที่เพิ่มขึ้นตามแม่น้ำ ซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่ไหลจากที่ราบภาคกลางถึงกรุงเทพฯ และอ่าวไทยเป็นระยะทาง 372 กิโลเมตรอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

กระทรวงเกษตรฯ เผย พื้นที่เกษตรเสียหายน้ำท่วมกว่า 2 หมื่นไร่

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประกาศเมื่อวันพฤหัสบดีว่าน้ำท่วมทำให้พื้นที่เกษตรกรรมเสียหายกว่า 20,000 ไร่ และต้องใช้เงิน 7 ล้านบาทเพื่อชดเชยเกษตรกรกว่า 1,000 รายนายพีรพันธ์ คอทอง รองโฆษกกระทรวงฯ กล่าวตามรายงานผลกระทบด้านการเกษตรที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 5 กรกฎาคม ถึง 2 กันยายนอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

แนวทางแก้ปัญหาน้ำท่วม กทม.

ปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพมหานครเกิดขึ้นได้ในหลายพื้นที่เนื่องจาก:อาคารขนาดใหญ่ที่ปล่อยน้ำเสียปริมาณมาก มีจำนวนมากขึ้น การเพิ่มขนาดของท่อระบายน้ำหรือเครือข่ายท่อระบายน้ำเพิ่มเติม ให้เหมาะกับปริมาณน้ำพื้นผิวส่วนใหญ่เปลี่ยนจากดินเป็นคอนกรีตอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

อนุมัติแผนการป้องกันน้ำท่วม

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา คณะกรรมการของรัฐบาลได้อนุมัติโครงการป้องกันน้ำท่วม จำนวน 4 โครงการในกรุงเทพมหานคร และโครงการประปาในจังหวัดปัตตานีโดย ดร.สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) กล่าวว่า โครงการดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากที่ประชุม โดย พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

กลิ่นเหม็นที่เพิ่มขึ้นจากน้ำท่วม อาจส่งผลเสี่ยงต่อสุขภาพ

กรมควบคุมมลพิษได้รับมอบหมายให้เฝ้าระวังน้ำท่วมทั่วประเทศ หลังมีผู้ร้องเรียนเรื่องกลิ่นเหม็นจากปัญหาน้ำนิ่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้กังวลเกี่ยวกับมลพิษที่เป็นอันตรายจากปัญหาน้ำท่วม เนื่องจากการระบายน้ำและท่อระบายน้ำได้รับความเสียหายจากฝนที่ตกลงมาตามฤดูกาลอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

แม่น้ำเจ้าพระยาระดับน้ำเพิ่มสูงขึ้น แต่น้ำท่วมกรุงเทพฯ 'เสี่ยงต่ำ'

เมื่อวันเสาร์ กรมชลประทานประกาศเตือนว่า ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มสูงขึ้น แต่ความเสี่ยงน้ำท่วมกรุงเทพฯยังคงต่ำ แม้ว่าจะมีน้ำท่วมในพื้นที่ 13 จังหวัดนายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า ร่องมรสุมที่ปกคลุมตอนล่างของภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก ทำให้มีฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ และพิจิตร ส่งผลให้ระดับน้ำของแม่น้ำเจ้าพระยาในจังหวัดนครสวรรค์เพิ่มสูงขึ้นอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

น้ำท่วมเต็มเขื่อน

เมื่อวันอังคารพื้นที่ลุ่มต่ำใกล้เขื่อนหลัก 3 แห่งในจังหวัดนครราชสีมา ถูกน้ำท่วมฉับพลันหลังจากระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำเกินความจุสูงสุดในวันอังคารเขื่อนลำพระเพลิงมีปริมาณน้ำ 165 ล้านลูกบาศก์เมตร ซึ่งมากกว่าปริมาณน้ำที่บันทึกไว้ในปีที่แล้วในช่วงเวลาเดียวกันถึง 4 เท่าอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ไม่มีที่สิ้นสุด: ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร

เก้าปีหลังมหาอุทกภัยปี พ.ศ.2554 ในพื้นที่ภาคตะวันออกตอนบนของกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นพื้นที่ลุ่มต่ำและเสี่ยงภัยน้ำท่วม ยังคงเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยเนื่องจากส่วนราชการจังหวัด อาจไม่สามารถพัฒนาโครงการกักเก็บน้ำจำนวน 6 โครงการ ได้ตามแผนที่วางไว้ในฤดูมรสุมปี พ.ศ.2554 ภาคตะวันออกตอนบนของ กทม. ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยครั้งใหญ่ โดยพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบหนักที่สุด ได้แก่ เขตคันนายาว มีนบุรี สายไหม และคลองสามวา เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ราบต่ำอ่านต่อ ...

สุพจน์ วรรณเจริญ

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

F9hAm
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!