รัฐบาล
การเลือกตั้ง
ความสำคัญทางเศรษฐกิจของการเลือกตั้งในครั้งนี้
ด้วยโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (อีอีซี) โครงการขนาดยักษ์ที่แขวนอยู่ในความสมดุลของประเทศไทยจะต้องรักษาเสถียรภาพ เพื่อดึงดูดการลงทุนมากขึ้นแนวโน้มเศรษฐกิจหลังการเลือกตั้งของประเทศไทยส่วนใหญ่จะขึ้นอยู่กับเสถียรภาพทางการเมือง และความต่อเนื่องของนโยบายทางเศรษฐกิจที่สำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายที่ออกแบบมา เพื่อผลักดันการเติบโตในทศวรรษหน้าหรือสองทศวรรษผ่านการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (new S-Curve)อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
สิ่งที่การเลือกตั้งของประเทศไทยสามารถทำได้และไม่ได้ เพื่อประชาธิปไตย
ในขณะที่การจัดการเลือกตั้งในประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะเป็นขั้นตอนสำคัญในการฟื้นฟูระบอบประชาธิปไตย แต่หน่วยงานทางการเมืองยังคงมีงานจัดการในภาพรวมที่หนักหน่วงรอคอยอยู่ภายภาคหน้าอ่านต่อ ...
ระบบลงทะเบียนขอใช้สิทธิเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรแบบออนไลน์
กรมการปกครอง อธิบายว่า ปัญหาเกี่ยวกับระบบการขอใช้สิทธิเลือกตั้งนอกราชอาณาจักรแบบออนไลน์นั้น เกิดจากการสื่อสารที่ไม่ถูกต้องระหว่างระบบภายในประเทศและระหว่างประเทศอ่านต่อ ...
อติพร ละการชั่ว
ประชาชาติต่างถากถางเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กำลังถูกกระตุ้น เพื่อให้แน่ใจว่าการเลือกตั้งนั่นเป็นไปอย่างเป็นธรรม และโปร่งใส ซึ่งเกิดขึ้นจากความเชื่อมั่นของประชาชนที่ต่ำมากในความซื่อสัตย์ของกระบวนการในการแข่งขันของพรรคต่างๆ จนถึงวันที่ 24 มีนาคมในโพลล่าสุดโดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์หรือนิด้าโพล โดยผู้เข้าร่วมกว่าร้อยละ 78 เชื่อว่าจะมีการซื้อเสียงเกิดขึ้นอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
ความเหลื่อมล้ำของประเทศไทยสูงที่สุดในโลก: สิ่งนี้จะมีความหมายต่อการเลือกตั้งครั้งต่อไปหรือไม่
ขณะนี้ประเทศไทยมีช่องว่างความเหลื่อมล้ำที่มากที่สุดในโลกตามรายงานของ Credit Suisse รายงานความมั่งคั่งทั่วโลก (Global Wealth Report) และ Databook ซึ่งตีพิมพ์เมื่อเดือนธันวาคม 2561 ที่ผ่านมา แสดงให้เห็นว่ากลุ่มคนที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทยร้อยละ 1 ครอบครองความมั่งคั่งได้เกือบร้อย 67 ของประเทศบรรดากลุ่มก้อนทางการเมืองต่าง นับตั้งแต่ กลุ่มเสรีนิยม “เสื้อแดง” ไปจนถึงพรรคพลังประชารัฐที่มีรัฐบาลทหารหนุนหลัง และภาคเอกชนยอมรับว่าความเหลื่อมล้ำเป็นภัยคุกคามต่อเสถียรภาพทางสังคมของประเทศไทยอ่านต่อ ...
โซเชียลมีเดียจะมีบทบาทสำคัญในการเลือกตั้ง
นับเป็นครั้งแรกตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดเมื่อห้าปีที่แล้ว ประเทศไทยกำลังเป็นสักขีพยานถึงพลังที่เติบโตอย่างรวดเร็วของแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดียโดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรุ่นใหม่ ซึ่งการเลือกตั้งคาดว่าจะมีขึ้นในเดือนมีนาคมปีนี้ โดยสื่อที่จะมีอิทธิพลอย่างมากคือ Line Facebook Twitter และสื่ออื่นๆ ที่ไม่ใช่สื่อแบบดั้งเดิมอ่านต่อ ...
อศินา พรวศิน
เกิดความสับสนในกำหนดวันเลือกตั้ง
ผู้สังเกตการณ์ทางการเมืองระบุว่า ความสับสนได้ปะทุขึ้นในกำหนดการเลือกตั้ง ซึ่งตามกฎหมายแล้วมีระยะเวลา 150 วัน แต่อาจไม่แน่นอนตามการตีตวามของศาลรัฐธรรมนูญตามอ่านต่อ ...
มงคล บางประภา
กลุ่มผู้ประท้วงรวมตัวกันเรียกร้องไม่ให้มีการเลื่อนเลือกตั้ง
เมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมา (6 ม.ค.) กลุ่มผู้ประท้วงหลายร้อยคนรวมตัวกันอย่างสงบบริเวณอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ โดยเรียกร้องให้รัฐบาลไม่เลื่อนวันเลือกตั้ง ก่อนหน้านี้รัฐบาล และคณะกรรมการการเลือกตั้ง [กกต.] ได้กำหนดวันเลือกตั้งครั้งต่อไปในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ หลังจากที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องทั้งหมดมีผลบังคับใช้อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ประยุทธ์รับประกันการเลือกตั้งไม่เปลี่ยน ทำตามแผนเดิม
เมื่อวานนี้พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรียืนยันว่าโร้ดแมพการเลือกตั้งระดับชาติยังคงไม่เปลี่ยนแปลง โดยไม่ต้องสนใจข้อเสนอแนะที่ว่ารัฐบาลทหารจะเลื่อนการเลือกตั้ง เพื่อหลักทางให้กับพิธีราชาภิเษก ซึ่งเป็นความคิดของดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ และม.จ.จุลเจิม ยุคล ว่าการเลือกตั้งที่รอคอยมานานควรจัดหลังพิธีราชาภิเษก ซึ่งสำนักพระราชวังประกาศในวันอังคารที่ผ่านมาว่าพิธีราชาภิเษกจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคมถึง 6 พฤษภาคม นี้อ่านต่อ ...
Kas Chanwanpen
พรรคการเมืองต่างเสนอนโยบายประชานิยม
ยุคของประชานิยม (ใหม่) หรือ neo-populism ได้เกิดขึ้นแล้วในประเทศไทย โดยมีพรรคการเมืองไม่น้อยกว่า 4 พรรคการเมืองที่ต่างชูนโยบายรัฐสวัสดิการในการเลือกตั้งครั้งหน้าที่มีกำหนดในวันที่ 24 กุมภาพันธ์นี้ พรรคพลังประชารัฐ ซึ่งมีผู้นำพรรคเป็นสมาชิกในคณะรัฐมนตรีของพลเอกประยุทธ์ที่เป็นผู้นำในศึกประชานิยมจากโครงการบัตรสวัสดิการของรัฐ ซึ่งมีสมาชิกที่มีรายได้ต่ำมากกว่า 14 ล้านคนอ่านต่อ ...
นพคุณ ลิ้มสมานพันธ์