ระบบและเทคโนโลยีการจัดการสินค้าเกษตร

การชลประทานและการจัดการน้ำ

ความท้าทายของการจัดการน้ำในประเทศไทย

ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา เผยการจัดการน้ำในประเทศไทยมีความซับซ้อนมากขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นและการขยายตัวของเมือง บวกกับระบบที่ล้าสมัยขณะที่พายุโซนร้อน “โกนเซิน”เคลื่อนตัวเข้าหาทะเลจีนใต้อย่างช้าๆ ผลกระทบก็รู้สึกได้ในประเทศไทยหลายคนถอนหายใจด้วยความโล่งอก จากการมาของฝนที่เข้ามาเติมเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำที่แห้งขอด หลังเมื่อปีที่แล้วประเทศไทยได้ประสบกับภัยแล้งที่เลวร้ายที่สุดในรอบ 40 ปีอ่านต่อ ...

สมาคมเกษตรฯชี้ ควรใช้ระบบชลประทาน 2 ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยารับมือน้ำท่วม

สมาคมเกษตรกรไทยเสนอให้น้ำที่ไหลบ่าจากทางภาคเหนือผ่านจังหวัดนครสวรรค์ ควรใช้ระบบชลประทาน 2 ฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยา แทนที่จะปล่อยให้กระแสน้ำไหลลงสู่เขื่อนเจ้าพระยาในจ.ชัยนาทนายปราโมทย์ เจริญศิลป์ นายกสมาคมฯ กล่าวว่า มีข้อเสนอแนะให้กรมชลประทานพิจารณาขณะที่กรมชลประทานกำลังมุ่งควบคุมการปล่อยน้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา ซึ่งได้รับน้ำปริมาณมากจากทางเหนืออ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ไทย ออสเตรเลีย ลงนาม MOU ว่าด้วยการจัดการน้ำ [วิดีโอ]

ประเทศไทยและออสเตรเลียได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการในการจัดการน้ำ ส่งเสริมความพยายามร่วมกันของทั้งสองประเทศในการวางแผนน้ำ ซึ่งสอดคล้องกับ “ทศวรรษแห่งการดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายระดับโลก” ของสหประชาชาติดูต่อ ...

ประยุทธ์เร่งทำแผนน้ำป้องกันน้ำท่วมภาคกลาง

พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้พยายามที่จะบรรเทาความกังวลเกี่ยวกับเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ที่อาจเกิดขึ้นในแม่น้ำเจ้าพระยา โดยพล.อ.ประยุทธ์กล่าวว่าได้จัดทำแผนการจัดการน้ำเพื่อป้องกันภัยพิบัติดังกล่าวไม่ให้เกิดขึ้นพล.อ.ประยุทธ์ประกาศยืนยันหลังจากที่ตรวจสอบสถานการณ์น้ำที่เขื่อนเจ้าพระยาในจังหวัดชัยนาท เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาหลายคนแสดงความกังวลเกี่ยวกับน้ำท่วมที่อาจเกิดขึ้นจากระดับที่เพิ่มขึ้นตามแม่น้ำ ซึ่งเป็นแหล่งน้ำที่ไหลจากที่ราบภาคกลางถึงกรุงเทพฯ และอ่าวไทยเป็นระยะทาง 372 กิโลเมตรอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

นักอนุรักษ์ชี้เขื่อนชลประทานคุกคามถิ่นเสือโคร่งไทย

นักเคลื่อนไหวเตือนแผนการสร้างเขื่อนเจ็ดแห่งในพื้นที่ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ของประเทศไทย อาจทำให้เกิดการสูญเสียแหล่งที่อยู่อาศัยในวงกว้างและตัดทางเดินของสัตว์ป่าที่สำคัญพื้นที่ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่เป็นที่อยู่อาศัยหนึ่งในสองของประชากรเสือโคร่งอินโดจีนที่เหลืออยู่ของประเทศไทยทางการไทยเคยพบฝ่ายค้านเกี่ยวกับข้อเสนอในอดีต แต่อ้างว่าเขื่อนจะช่วยแก้ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้งในพื้นที่ใกล้เคียงนักอนุรักษ์เตือนว่าแผนดังกล่าวอาจเป็นอันตรายต่อสถานะมรดกโลกของพื้นที่ป่า ซึ่งมีกำหนดตรวจในเดือนกรกฎาคมนี้อ่านต่อ ...

เขื่อนใหม่รับมือภัยแล้งภาคอีสาน

กรมชลประทานกำลังดำเนินการสร้างอ่างเก็บน้ำลำน้ำชี อำเภอบ้านเขว้า จังหวัดชัยภูมิ เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ำในพื้นที่ภาคอีสานโดยรัฐบาลเปิดเผยว่า เมื่อสร้างเสร็จแล้วอ่างเก็บน้ำมูลค่า 3.1 พันล้านบาทจะสามารถกักเก็บน้ำได้ประมาณ 70.21 ล้านลูกบาศก์เมตร (ลบ.ม. ) เพียงพอที่จะใช้ในพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 75,000 ไร่ และครอบคลุม 7,556 ครัวเรือนทั้งในจังหวัดชัยภูมิ และขอนแก่นอ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

สทนช. ศึกษาแม่น้ำมูล เพื่อการบริหารจัดการ

สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) กำลังวางแผนที่จะใช้แนวคิดจากกระบวนการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment: SEA) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการน้ำตามลุ่มน้ำมูล ซึ่งมีพื้นที่ครอบคลุม 10 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยคาดว่า การศึกษาจะแล้วเสร็จภายในเดือนหน้าก่อนที่จะเปลี่ยนเป็นแผนปฏิบัติงานอ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

สทนช. ต่อยอดแก้มลิงขยายผลโครงการผันน้ำ

สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) กำลังดำเนินการก่อสร้างพื้นที่รับน้ำแก้มลิง ในอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อปรับปรุงโครงการผันน้ำของเขื่อนศรีนครินทร์ การดำเนินการดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการประมูล เพื่อแก้ปัญหาวิกฤตภัยแล้งในจังหวัดกาญจนบุรีด้านตะวันตกอ่านต่อ ...

ประสิทธิ์ ตั้งประเสริฐ

หน่วยงานด้านน้ำหาข้อมูลเกี่ยวกับแผนลุ่มน้ำมูน

นครราชสีมา: เมื่อวานนี้สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) เริ่มให้คำปรึกษาสาธารณะเพื่อจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำสำหรับลุ่มน้ำมูนโดยแผนดังกล่าวมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วน เพื่อรับมือกับภัยแล้งและน้ำท่วมรุนแรงใน 10 จังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนืออ่านต่อ ...

ประสิทธิ์ ตั้งประเสริฐ

การจัดการน้ำในประเทศไทยที่เท่าเทียมกันนั้นจำเป็นต้องมีการรวมกลุ่มในระดับรากหญ้า

การขาดแคลนน้ำถือเป็นปัญหาใหญ่สำหรับประเทศไทย เนื่องด้วยความพยายามของรัฐบาลในการส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมในเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ครอบคุลมพื้นที่จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทราทำให้ความต้องการน้ำในภูมิภาคนี้ เพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก ซึ่งสิ่งนี้เบี่ยงเบนน้ำออกไปจากเกษตรกรและประชาชนในท้องถิ่นทำให้เกิดการกระจายทรัพยากรน้ำที่ไม่เป็นธรรมมากขึ้นอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

YzjMM
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!