ข่าว

คาร์บอนเครดิตจากป่าไม้ แหล่งรายได้ใหม่

คาร์บอนเครดิต แสดงถึงการลดคาร์บอนไดออกไซด์ในหนึ่งตัน (CO2) ได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่กำลังดำเนินอยู่เครดิตเหล่านี้สามารถซื้อขายได้ในตลาด โดยเสนอวิธีการชดเชยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากแหล่งต่าง ๆอ้างอิงจากบทความในกรุงเทพธุรกิจ (bangkokbiznews.com) ระบุว่า ป่าไม้เป็นส่วนสำคัญในการต่อสู้ครั้งนี้ ความสามารถในการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์จากชั้นบรรยากาศและกักเก็บไว้ในชีวมวล ทำให้สิ่งเหล่านี้เป็นส่วนสำคัญในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การปลูกต้นไม้หรือปกป้องป่าไม้ที่มีอยู่ได้กลายเป็นกลยุทธ์อันทรงพลังในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

กรมสรรพสามิตจะเก็บภาษีคาร์บอนใน 3 ภาคส่วน

ภาษีคาร์บอนที่กรมสรรพสามิตได้กำหนดขึ้น คาดว่าจะช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ.2050 และการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2063กรมสรรพสามิตวางแผนที่จะเรียกเก็บภาษีคาร์บอนในภาคพลังงาน ภาคการขนส่ง และภาคอุตสาหกรรม เพื่อช่วยให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนภายในปี ค.ศ.2050 และปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2063 ตลอดจนลดต้นทุนการนำเข้าเชื้อเพลิงอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

การซื้อขายคาร์บอนเครดิตในปี’2564 เพิ่มขึ้นสองเท่าจากปีก่อนหน้า

นายเกียรติชาย ไมตรีวงษ์ ผู้อำนวยการองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) กล่าวว่า แนวโน้มการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่กำลังเติบโตในกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมทั่วโลกได้เพิ่มมูลค่าการซื้อขายคาร์บอนเครดิตเป็นสองเท่าในปี พ.ศ.2564 จากปีก่อนหน้าเป็นเกือบ 750 ล้านดอลลาร์เขากล่าวระหว่างการสัมมนาออนไลน์ “Virtual Forum Go Green” ซึ่งจัดโดยหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจเมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

บีโอไอไทยอนุมัติมาตรการสนับสนุนการลดคาร์บอน

นางสาวดวงใจ อัศวจินตจิตร์ ดำรงเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) กล่าวว่าในที่ประชุมคณะกรรมการบีโอไอได้อนุมัติมาตรการจูงใจเพื่อส่งเสริมให้บริษัทต่างๆ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตลอดจนปรับปรุงโครงการยานยนต์ไฟฟ้า และมาตรการบรรเทาผลกระทบจากโควิด-19 และสนับสนุนการพัฒนาวัคซีนในพื้นที่ มาตรการส่งเสริมการลดก๊าซเรือนกระจกคณะกรรมการเห็นชอบชุดมาตรการส่งเสริมเพื่อสนับสนุนการลงทุนเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน และมีส่วนร่วมในการพัฒนาตามโมเดล BCG (Bio, Circular and Green Economy) ซึ่งรัฐบาลไทยได้ให้ความสำคัญต่อการเป็นผู้นำการฟื้นฟูหลังโควิด 19อ่านต่อ ...

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้ทำลายแนวปะการังไปแล้วกว่าครึ่งโลก

มหาสมุทรเป็นกันชนที่ใหญ่ที่สุดสำหรับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นอันตรายต่อมนุษยชาติ ประมาณ 1 ใน 4 ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดถูกปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศ นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 ตั้งแต่การขับรถยนต์ การดำเนินการของโรงงาน และการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิล เมื่อโลกอุ่นขึ้นจากการปล่อยมลพิษ มหาสมุทรจึงอุ่นขึ้นเป็นครั้งแรกและเร็วที่สุด โดยดูดซับ 90% ของความร้อนส่วนเกินนั้นเอาไว้ จากรายงานที่เผยแพร่เมื่อเดือนที่แล้วโดยคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้าได้ออกมาเตือนว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับมหาสมุทรกำลังเกิดขึ้นในอัตราเร่งและอาจอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับมาได้อีกอ่านต่อ ...

การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างไร?

ประเทศต่างๆทั่วโลกกำลังประสบกับความต้องการในการปกป้องประชากร และความสามารถในการผลิตของตน เมื่อต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ด้านสภาพภูมิอากาศ โดยประเทศไทยได้เริ่มใช้ยุทธศาสตร์ที่มีศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นตัวการสำคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดูต่อ ...

เป้าหมายของข้อตกลงปารีส ปี 2573 เป้าที่ไกลเกินกว่าจะหย่อนยาน

การประชุมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่จัดขึ้นในเมืองคาโตวีตเซ ประเทศโปแลนด์มีบรรยากาศที่ค่อนข้างเงียบเชียบ มีเพียงรายงานการประชุมก่อนการประชุมเพียงไม่กี่ฉบับจากสื่อมวลชน ผู้เจรจาจะพยายามตั้งหลักเกณฑ์ และแผนงานในการดำเนินการตามข้อตกลงสภาพภูมิอากาศของกรุงปารีสปี 2558 เอกสารฉบับนี้เรียกร้องให้ประเทศต่างๆมีพันธกรณีในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อไม่ให้อุณหภูมิสูงขึ้นกว่า 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับระดับก่อนยุคอุตสาหกรรมอ่านต่อ ...

วสันต์ เตชะวงศ์ธรรม

ภายใต้ท้องฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไป

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้สร้างความกังวลมากขึ้นในศตวรรษนี้ แต่ประเทศไทยกำลังเข้าต่อสู้กับอุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้นโดยสัญญาว่าจะดำเนินการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอ่านต่อ ...

Pradit Phulsarikil

แรงกดดันด้านสภาพภูมิอากาศมาถึงกรุงเทพฯ

แม้ว่าประเทศไทยมีความคืบหน้าในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) แต่ก็ยังคงต้องเผชิญกับความท้าทายมากมาย และยังคงมีช่องว่างในการดำเนินงานระดับสากลที่ยังคงต้องดำเนินการแก้ไขอย่างต่อเนื่อง ข้อเท็จจริงเหล่านี้เกิดขึ้นขณะที่กรุงเทพฯเตรียมจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ในสัปดาห์นี้อ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ประเทศไทยมีความคืบหน้าในการบรรลุเป้าหมายการลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหรือไม่?

ในขณะการเตรียมพร้อมกำลังอยู่ในขั้นตอนการเจรจาระหว่างประเทศที่มีพันธสัญญากับสนธิสัญญาปารีส ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการกำหนดความคืบหน้าในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (GHG) 20 ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ภายในปี 2573 แต่ผู้เชี่ยวชาญเตือนว่าต้องเน้นนโยบายที่จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงที่แท้จริงอ่านต่อ.. ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

cTmcH
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!