เดอะ เอเชียน โพสต์

การเอาชนะความท้าทายในการพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน

ทุกวันนี้การพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืนหรือพลังงานทดแทน คือ หัวข้อสำคัญของเมืองที่ให้ความสำคัญกับสถานการณ์ของโลกในปัจจุบัน ภาวะโลกร้อน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกำลังคุกคามสภาพแวดล้อมของเรา และทั่วโลกกำลังแข่ง เพื่อบรรเทาปัญหาเหล่านี้อ่านต่อ ...

Angaindrankumar Gnanasagaran

ประเทศไทยถือเป็นยักษ์ใหญ่ที่มีศักยภาพด้านโทรศัพท์มือถือ

โทรศัพท์มือถือคืออนาคตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีประเทศสมาชิกอาเซียน โดย Parcel Perform บริษัทบริการแพลตฟอร์มการจัดการโลจิสติกส์อีคอมเมิร์ซ ตั้งข้อสังเกตว่าตลาดมือถือในตลาดเกิดใหม่ เช่นพม่า และไทยกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว ตัวอย่าง เช่น พม่า ซึ่งเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมากจากเพียงร้อยละ 10 ในปี 2557 เป็นกว่าร้อยละ 80 หรือ 46 ล้านรายในปีพ. ศ. 2560 ตามการคาดการณ์ของ Parcel Perform ตลาดมือถือจะพุ่งสูงถึงร้อยละ 90 ในสิ้นปี พ.ศ. 2561อ่านต่อ ...

Sheith Khidhir

ประเทศไทยเปิดเส้นทางสู่พลังงานทดแทน

ศูนย์พลังงานอาเซียน (ACE) ระบุว่า ประเทศไทยต้องเผชิญความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่กำลังเติบโตอื่น ๆ ความต้องการพลังงานในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี 2583 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นระหว่างร้อยละ 110 ถึงร้อยละ 130 ในขณะที่ผลการดำเนินงานที่ดีของเศรษฐกิจไทยและการเติบโตของประชากรคาดว่าความต้องการพลังงานจะเพิ่มขึ้นเกือบร้อยละ 80 ใน 20 ปีข้างหน้าอ่านต่อ ...

Eijas Ariffin

เทคโนโลยีเปลี่ยนโลกอาจส่งผลเสียต่องานของคนไทย

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) กล่าวว่าแม้จะมีการริเริ่มโครงการประเทศไทย 4.0 เมื่อสองปีที่แล้วประเทศไทยก็มีแนวโน้มที่จะสูญเสียตำแหน่งงานมากถึงสามล้านตำแหน่งในอีก 20 ปีข้างหน้า หากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อ่านต่อ ...

Eijas Ariffin

เร่งกลบช่องว่างที่ไม่เท่ากันระหว่างเพศ

10 หมวดในรายการของสหประชาชาติ (UN) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG) เพื่อลดความเหลื่อมล้ำภายในปี 2573โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) มีเป้าหมายด้านรายได้และความไม่เสมอภาคทางเพศปัญหา เป็นปัญหาที่กำลังเติบโตในระดับสากล จากการประชุมฟอรั่มเศรษฐกิจโลก (WEF) ประเมินว่าหากต้องการลบช่องว่างด้านการจ้างงาน และค่าจ้างของผู้หญิงจะต้องใช้เวลาประมาณ 217 ปีอ่านต่อ ...

Stephen Chin

ความจริงของกรุงเทพฯที่กำลังจะจม

มีประชาชนที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครเมืองหลวงของประเทศไทยจำนวนมากไม่ต่ำกว่า 10 ล้านคน และน้ำท่วมเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากสถานที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของเมืองที่อยู่ทางตอนใต้สุดของลุ่มน้ำเจ้าพระยา และสภาพภูมิประเทศที่มีที่ราบต่ำประมาณ 1.5 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง โดยปกติกรุงเทพจะมีต้องเผชิญกับช่วงฤดูฝน 6 เดือนทุกปีตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมอ่านต่อ ...

อุตสาหกรรม 4.0 และศูนย์กลางประชาชนของอาเซียน

เมื่อโลกก้าวเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 หรืออุตสาหกรรม 4.0 การเมืองการปกครองในระดับภูมิภาคและระดับโลกถือเป็นประเด็นสำคัญ ซึ่งการกำกับดูแลที่มีประสิทธิภาพเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดการปัญหาสาธารณะที่ครอบคลุมทั่วประเทศ เช่น ความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ การก่อการร้ายข้ามพรมแดน การค้าระหว่างประเทศและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ ...

การเลือกตั้งของไทยอาจล่าช้าอีกครั้ง

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ดูเหมือนว่าจะทิ้งอีกหนึ่งเงื่อนงำว่าการเลือกตั้งที่รอคอยมานานของประเทศจะล่าช้าอีกครั้ง แม้ว่าก่อนหน้านี้สัญญาว่าจะจัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 2562 นายกรัฐมนตรีกล่าวว่าเมื่อเร็ว ๆ นี้ว่าการเลือกตั้งอาจล่าช้าอ่านต่อ ...

กรุงเทพ เมืองอัจฉริยะ

กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงและเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของไทย ได้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะที่มีศักยภาพที่สำคัญของประเทศนี้ เมื่อเร็ว ๆ นี้ได้เป็นเมืองกลุ่มแรกของเครือข่ายอาเซียน Smart Cities Network (ASCN) ในสิงคโปร์เมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมาประเทศไทยได้ดำเนินการในเชิงบวกต่อการตระหนักถึงเศรษฐกิจดิจิทัลและการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเป็นสิ่งสำคัญสอดคล้องกับโครงการไทยแลนด์ 4.0 ของรัฐบาลไทย ซึ่งมุ่งหวังให้ประเทศมีความเจริญก้าวหน้าในฐานะประเทศที่มีรายได้สูงโดยมีเศรษฐกิจพึ่งพานวัตกรรมและอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าสูงอ่านต่อ ...

Angaindrankumar Gnanasagaran

เมืองอัจฉริยะของประเทศไทยประกาศในไทยแลนด์ 4.0

ประเทศไทยมีเป้าหมายที่จะพัฒนาเมืองอัจฉริยะหรือสมาร์ทซิตี้มากขึ้นตามโครงการนำร่องที่เกี่ยวข้องกับ 3 เมือง พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ได้กล่าวสุนทรพจน์เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2560 ว่า ภายใน 20 ปี จะมีเมืองอัจฉริยะ 100 เมือง เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตในเขตเมือง ซึ่งเมืองนำร่องโครงการเมืองอัจฉริยะ ได้แก่ ภูเก็ต เชียงใหม่ และขอนแก่น โดยรัฐบาลมีแผนที่จะพัฒนาเมืองอีก 3 แห่งซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) คือ ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา นอกจากนี้ยังมีแผนจะพัฒนากรุงเทพฯให้เป็นเมืองอัจฉริยะอีกด้วยอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

yPSyk
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!