China Dialogue

ชุมชนไทยต่อสู้กับมลพิษในระเบียงเศรษฐกิจ

นายศราวุธ ภูมินอก กล่าวว่า “พวกเขากำลังเผาและหลอมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อีกครั้ง” ขณะที่เขาเดินไปตามทางลูกรังแคบ ๆ ผ่านทุ่งมันสำปะหลังในช่วงที่พระอาทิตย์กำลังจะตกดินและสายตาของเขาจับจ้องไปที่ปล่องควันที่ปล่อยกลุ่มก้อนควันออกมาเหนือโรงงาน ซึ่งอยู่ห่างออกไปไม่กี่ร้อยเมตร“เราโชคดีที่ไม่ได้ใช้ปล่องควันขนาดใหญ่ในเย็นวันนี้ แต่มันจะยังคงดำเนินต่อไปตลอดทั้งคืน เราไม่สามารถนอนหลับได้เมื่อเปิดหน้าต่าง จากกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์”อ่านต่อ ...

เริ่มสัปดาห์ภูมิอากาศแห่งเอเชีย-แปซิฟิกที่กรุงเทพฯ

ผู้เข้าร่วมงานสัปดาห์ภูมิอากาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (APCW) ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 2-6 กันยายน ที่กรุงเทพฯ หวังว่าจะสร้างแรงกระตุ้นการดำเนินงานด้านสภาพอากาศก่อนการประชุมสุดยอดสภาพภูมิอากาศในนิวยอร์กปลายเดือนนี้ และการเจรจาเรื่องสภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติในชิลีเดือนธันวาคมอ่านต่อ ...

ความต้องการแร่โปแตชของจีนทำให้เกิดการต่อต้านในชนบทของไทย

อนาคตของเหมืองแร่โปแตชที่วางแผนไว้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเกิดความไม่แน่นอนขึ้น เนื่องจากมีการต่อต้านอย่างรุนแรง เพราะชาวบ้านในพื้นที่เกิดจากความกังวลเกี่ยวกับวิถีชีวิต สุขภาพ และสิ่งแวดล้อมเมื่อปีที่แล้วกลุ่มคนซึ่งนำโดยผู้หญิงในพื้นที่ได้ปิดกั้นการเข้าถึงแหล่งขุดเจาะสำรวจในอำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เพื่อตอบโต้ต่อการที่บริษัท China Ming Ta Potash Corporation ยื่นฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายจากชาวบ้านจำนวน 34 ล้านบาท (1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) อ่านต่อ ...

ยศพล เกิดวิบูลย์

ที่ปรึกษาบริษัทจีนเข้าพื้นที่ชุมชน เพื่ออธิบายโครงการระเบิดแก่งหินในแม่น้ำโขง

พระภิกษุนั่งรอหน้าการประชุมที่ปรึกษาในอำเภอเชียงแสนทางตอนเหนือของประเทศไทย เมื่อตัวแทนจากบริษัท ไชน่าคอมมิวนิเคชั่นส์คอนสตรัคชั่น (CCCC) เสร็จสิ้นการนำเสนอ ภิกษูรูปนั่้นก็ลุกขึ้นยืน และดุว่าใช้เวลานานเกินไป เขาโต้แย้งคำอธิบายเกี่ยวกับแนวแม่น้ำโขงของไทย – ลาว – พม่าว่าเป็น “ดั้งเดิม” “ ธรรมชาติ [ระบบธรรมชาติ และสถานะของแม่น้ำ] ได้รับการพัฒนา เขายืนยันว่า “มันสมบูรณ์แล้ว” การปฎิบัติเช่นนี้กับแม่น้ำ โดยไม่ตอบข้อกังวลของคนในท้องถิ่น เป็นเหมือนกับการขโมย”อ่านต่อ ...

ชาวบ้านตามแนวแม่นำ้โขงเตือน 'แม่น้ำไม่ได้มีไว้ขาย'

ชาวเเชียงราย ภาคเหนือของประเทศไทยเล่าถึงวิถีชีวิตของพวกเขาว่า “พวกเขาใช้เวลาสามวันในการจับปลา และอีกสองวันในการตากตาข่าย” ซึ่งพวกเขาจับปลาในฤดูฝน จากนั้นเมื่อฤดูแล้งมาถึงเขาก็วางตาข่ายจับปลาลง และปลูกพืช นี่คือวิถีชีวิตที่ครอบครัวของพวกปฎิบัติสืบมามาหลายชั่วอายุคน และพวกเขาหวังว่าลูก ๆ ของพวกเขาจะสนุกกับชีวิตเหมือนกัน แต่ชาวบ้านได้กังวลกับโครงการตามแม่น้ำโขง เช่น เขื่อน การปรับปรุงช่องทางเดินเรือ และเขตเศรษฐกิจใหม่จะเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น และรบกวนชีวิตและขนบธรรมเนียมที่เงียบสงบของพวกเขาอ่านต่อ ...

ทำไมลุ่มแม่น้ำโขงถึงมีความสำคัญ

เมื่อเดือนธันวาคมปีที่แล้วนายหวัง อี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของจีนวังยี่ กล่าวว่า ประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงควรสร้าง “ชุมชนร่วมกันในอนาคต” กรอบความร่วมมือลุ่มน้ำลำโขง (LMC) จะเกิด “ประโยชน์ และมีประสิทธิภาพสูง” พร้อมกล่าวว่า เราไม่ได้ไปที่ “ร้านพูดคุย” ชั้นสูง แต่เป็น “รถไถ” ที่ลงสู่พื้นอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

LcFyT
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!