การพัฒนาสังคม
เพศ
ทั่วโลกป่วย "เบาหวาน" 537 ล้านคน เฉลี่ยตาย 1 คนทุก 5 วินาที
กรมควบคุมโรค รายงานสถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลก มีผู้ป่วยแล้ว 537 ล้านคน มีส่วนทำให้เสียชีวิตสูงถึง 6.7 ล้านคน หรือเสียชีวิต 1 คนในทุกๆ 5 วินาที ส่วนตัวเลขในไทยพบรายใหม่ปีละ 300,000 คนต่อปีวันนี้ (14 พ.ย.2565) นพ.ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า เนื่องในวันเบาหวานโลกปีนี้ พบสถานการณ์โรคเบาหวานทั่วโลกปี 2564 มีผู้ป่วย 537 ล้านคน และคาดว่าในปี 2573 จะมีผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นเป็น 643 ล้านคน โรคเบาหวานมีส่วนทำให้เสียชีวิตสูงถึง 6.7 ล้านคน หรือเสียชีวิต 1 คน ในทุกๆ 5 วินาทีจากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น ...
อนุมัติงบประมาณ 1.2 พันล้านบาท สำหรับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มรายได้ในครัวเรือน
เมื่อวันอังคาร คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณ 1.249 พันล้านบาท ในการจัดฝึกอบรมอาชีพนอกเวลา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้ข้ามผ่านความยากลำบากทางเศรษฐกิจงบประมาณดังกล่าวจะมอบทุนให้กับหลักสูตรระยะเวลา 3 เดือน เพื่อให้บุคลากรมีทักษะต่างๆ เช่น การทำผม การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การซ่อมรถยนต์ การซ่อมเครื่องปรับอากาศ การเย็บผ้า และการทำเครื่องมือในครัวเรือน การฝึกอบรมทักษะนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อดึงดูดผู้เข้าร่วม 700,000 คนใน 400 ชุมชนท้องถิ่นและสร้างรายได้รวมอย่างน้อย 12.49 พันล้านบาทอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ครม.เห็นชอบร่าง พ.ร.บ.คู่ชีวิต
คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติร่างพระราชบัญญัติคู่ชีวิต ซึ่งอนุญาตให้คู่รักเพศเดียวกันจดทะเบียนการเป็นคู่ชีวิต และการแก้ไขทางกฎหมายหลังจากผ่านการตรวจสอบโดยรัฐสภานางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวเมื่อวันอังคารว่า คณะรัฐมนตรีได้รับรองร่างพระราชบัญญัติในก่อนหน้านี้ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงยุติธรรมในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2563 แต่ได้มีมติให้กระทรวงฯ ต้องศึกษาร่างพระราชบัญญัตินี้อย่างละเอียดถี่ถ้วนเพื่อให้เห็นถึงความจำเป็นและรับข้อเสนอแนะจากประชาชนอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
รัฐบาลจะลดเงินสมทบประกันสังคม เดือน พ.ค.-ก.ค.
กระทรวงแรงงาน ระบุว่า รัฐบาลจะอุดหนุนเงินสวัสดิการแรงงานที่ขึ้นทะเบียนแล้ว หลังจากที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบที่จะลดเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมอันเนื่องมาจากแรงกดดันทางเศรษฐกิจการตัดสินใจลดเงินสมทบแรงงานเป็นหนึ่งใน 10 มาตรการที่คณะรัฐมนตรีเห็นพ้องต้องกันเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โดยกล่าวถึงค่าครองชีพที่พุ่งสูงขึ้นเนื่องจากราคาน้ำมันที่สูงขึ้นอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
ใช้จ่ายกว่า1แสนล้านบาทในการรักษาโรคโควิด-19
ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) เปิดเผยว่า นโยบายเจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (Universal Coverage for Emergency Patients: UCEP) ได้ใช้จ่ายไปแล้วกว่า 1 แสนล้านบาท เพื่อรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ซึ่งส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรงนพ.ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน โฆษกศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) กล่าวว่า UCEP จะยังคงใช้ในการรักษาโควิด-19 โดยเสริมว่าการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในโครงการ จะต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงการรักษาของประชาชนอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
สปสช.หนุนเงินกู้ 5 หมื่นล้านเพื่อรองรับค่าใช้จ่ายจากโคโรนาไวรัส
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)เห็นชอบข้อเสนอกู้เงิน 51 พันล้านบาทตามคำสั่งผู้บริหาร โดยเงินกู้ดังกล่าวจะนำไปใช้ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนสำหรับบริการที่เกี่ยวข้องกับโควิดเป็นเวลา 10 เดือนการจัดหาเงินกู้เริ่มต้นขึ้นอย่างจริงจังหลังจากการประชุมเมื่อวันที่ 7 ก.พ. โดยมีรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นประธาน ซึ่งนายอนุทิน ชาญวีรกุล เป็นประธาน ได้เห็นพ้องกันว่า ข้อเสนอต่อคณะกรรมการ สปสช. จะครอบคลุมการเรียกร้องเงินคืนตั้งแต่เดือนธันวาคมปีที่แล้วถึงกันยายนปีนี้อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
ผู้ถือบัตรทอง สามารถใช้สิทธิได้ทุกโรงพยาบาลรัฐ
เมื่อวันอาทิตย์ นายอนุทิน ชาญวีรกุล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า ผู้ถือบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท มีสิทธิ์เข้ารับการรักษาที่หน่วยบริการปฐมภูมิทั่วประเทศ นายอนุทิน ชาญวีรกูล กล่าวว่า ไม่จำเป็นต้องขอเอกสารอ้างอิงจากหน่วยที่ผู้ป่วยขึ้นทะเบียน และขณะนี้ได้ร่างแผนปฏิรูปแผนประกันสุขภาพ 30 บาท หรือ “บัตรทอง” ใหม่อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
ข้อเสนอยืดเวลารับเงินบำนาญ เข้าพิจารณา ครม.
สำนักงานประกันสังคม (สปส.) จะขออนุมัติจากคณะรัฐมนตรีสำหรับข้อเสนอเพื่อให้สมาชิกใหม่ได้รับเงินบำนาญเมื่ออายุครบ 60 ปี แทนที่จะเป็นอายุ 55 ปี แบบในปัจจุบันทางสำนักงานประกันสังคม กล่าวว่า การเปลี่ยนแปลงนี้จะนำไปใช้กับสมาชิกใหม่ไม่ใช่ผู้ที่มีส่วนร่วมในกองทุนเป็นเวลานานและใกล้จะเกษียณโดยได้มีการดำเนินการประชาพิจารณ์ทางออนไลน์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงที่เสนอผ่านเว็บไซต์ของสำนักงานประกันสังคมอ่านต่อ ...
เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์
ทำไมเยาวชนไทยจึงลังเลใจต่อการรับวัคซีน
นับตั้งแต่ประเทศไทยเริ่มโครงการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 สำหรับนักเรียนระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย ความรู้สึกต่อต้านการฉีดวัคซีนเริ่มมีเพิ่มขึ้นในหมู่เยาวชน เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ประเทศไทยได้เริ่มฉีดวัคซีน mRNA ที่พัฒนาโดย Pfizer-BioNTech ให้แก่นักเรียนอายุ 12 ถึง 17 ปี นักเรียนประมาณ 3.6 ล้านคน จากนักเรียนที่มีสิทธิ์จำนวน 5 ล้านคนทั่วประเทศ ได้ลงทะเบียนเพื่อรับวัคซีน อย่างไรก็ตาม ในระยะเวลาไม่กี่วัน ชาวเน็ตเริ่มเห็นกระแสการสนทนาทางออนไลน์ที่แสดงความลังเลใจต่อการฉีดวัคซีนของกลุ่มเยาวชนอ่านเพิ่มเติม ...
วิชุตา ธีรธนบดี
เทคโนโลยีเพื่อผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดีขึ้น
5G, ปัญญาประดิษฐ์ (AI), อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) และเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่อื่น ๆ คาดว่าจะเปลี่ยนโฉมบริการด้านการดูแลสุขภาพในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า เมื่อสามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ที่ดีขึ้นได้ ผู้เล่นในอุตสาหกรรมการแพทย์ กล่าวเทคโนโลยีใหม่เหล่านี้สามารถช่วยชีวิต ลดภาระงานของบุคลากรทางการแพทย์ และสนับสนุนการจ่ายยาที่มีความแม่นยำความคิดเห็นเหล่านี้ได้มีการนำเสนอในการประชุมเสมือนจริงของหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์เรื่อง “Shaping Tomorrow: Power of 5G and Technology Convergence”อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์