วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปฏิวัติการผลิตอาหารด้วยบล็อกเชน
จากอาหารแบบ Paleo หรืออาหารที่ได้จากธรรมชาติและการล่าสัตว์อย่างที่มนุษย์ยุคหินกินกัน ไปจนถึงอาหารมังสวิรัติ ความสัมพันธ์ที่มนุษย์มีต่ออาหารนั้นมีหลายแง่มุม และมีการตัดข้ามแรงหนุนจากสังคม และการพิจารณาทางเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน ดังนั้นการผลิตอาหารจึงเป็นข้อพิจารณาที่สำคัญในการสนับสนุนแต่ละสังคมอ่านต่อ ...
ผู้เชี่ยวชาญชี้การห้ามเผาไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาหมอกควันที่มีประสิทธิภาพ
เมื่อวานนี้ผู้เชี่ยวชาญได้ออกมาเตือนการเคลื่อนไหวในการควบคุมหมอกควันในภาคเหนือนั้นไม่ได้ผล เนื่องจากทางการมุ่งเน้นไปที่การควบคุมไฟจากภายนอกเท่านั้น เมื่อใกล้ถึงฤดูร้อนประชาชนในภาคเหนือต้องเผชิญกับหมอกควันประจำฤดูกาล ซึ่งโดยปกติจะเริ่มในเดือนมีนาคมถึงแม้ว่านักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นเชื่อว่าการออกคำสั่งห้ามไฟไหม้กลางแจ้งสองเดือนไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ พวกเขายังชี้ให้เห็นว่าการป้องกันไฟป่าจะส่งผลเสียมากกว่าผลดีต่อระบบนิเวศป่าผลัดใบที่แห้งแล้งอ่านต่อ ...
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์
เพิ่มพลัง ต่อจุดมุ่งหมายด้วยพลังงานแสงอาทิตย์
บริษัท BCPG และ Power Ledger จะร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อเปิดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เอกชนบนหลังคาในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ซึ่งโครงการนี้แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการลดร่องรอยพลังงาน (Energy footprint) ของมหาวิทยาลัย ขณะเดียวกันได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการทำกำไรในช่วงเปลี่ยนผ่านไปเป็นพลังงานหมุนเวียน เพื่อตอบสนองต่อข้อตกลงปารีส บนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ ...
อศินา พรวศิน
ส่งเสริมดิจิทัลจากล่างขึ้นบน
นายไชย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อำนวยการคนแรกของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่ได้รับการเลื่อนตำแหน่งจากตำแหน่งที่ไม่ใช่รองผู้อำนวยการ แต่มาจากระดับหน่วยวิจัยNectec ได้ริเริ่มโครงการวิจัยขั้นสูงจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์นอกชั้นวาง แต่พวกเขายังคงไม่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางอ่านต่อ ...
ศศิวิมล บุญเรือง
เริ่มใช้ปัญญาประดิษฐ์ควบคุมสัญญาณไฟจราจรตามสี่แยกทั่วกรุงเทพฯ
เจ้าหน้าที่ตำรวจระดับสูง กล่าวว่า ในเร็ววันนี้จะเริ่มมีการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการควบคุมสัญญาณไฟจราจรในตามสี่แยก 505 แห่งทั่วกรุงเทพ ฯ ซึ่งจะสามารถทำงานได้ดีกว่าการใช้เจ้าหน้าตำรวจควบคุมพ.ต.อ.กิตติ อริยานนท์ รองผู้บัญชาการกองบังคับการตำรวจจราจร สํานักงานตํารวจแห่งชาติ กล่าวว่า ขณะนี้ AI ได้ทำงานในการควบคุมเวลาในไฟสัญญาณจราจรตาม 59 แยก เพื่อหาทางในการลดหรือเพิ่มระยะเวลาให้เหมาะสมในแต่ละเส้นทาง โดยขึ้นอยู่กับการไหลของการจราจรอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
เทคโนโลยี AI และข้อมูลขนาดใหญ่จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพจัดการด้านสุขภาพ เพื่อลดอัตราการติดเชื้อ HIV ของไทย
การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และข้อมูลขนาดใหญ่ได้เสนอโอกาสใหม่สำหรับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันมีศักยภาพมหาศาลที่จะสนับสนุน ‘ประเทศไทย 4.0’ ซึ่งเป็นโมเดลใหม่ในทางเศรษฐกิจตามมูลค่าที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ที่คาดว่าจะปลดล็อคประเทศจากความท้าทายทางเศรษฐกิจที่เกิดจากโมเดลการพัฒนาทางเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ (การเกษตร – ประเทศไทย 1.0 อุตสาหกรรมเบา – ประเทศไทย 2.0 และอุตสาหกรรมหนัก – ประเทศไทย 3.0) ‘กับดักรายได้ปานกลาง’ และ ‘กับดักความเหลือมล้ำ’อ่านต่อ ...
ทำอย่างไรประเทศไทยถึงใช้โอเพ่นดาต้า และเอไอในกระบวนการยุติธรรม
ในช่วงเวลาที่ผ่านมาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคส่วนต่างๆ เริ่มมีบทบาทเชิงรุกในการหาวิธีการปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม อย่างไรก็ตามปัญหาที่ขัดขวางภารกิจนี้ รวมถึงการบริหารงานที่ดี จึงขัดขวางระบบสถาบันที่มีประสิทธิภาพ ยุติธรรม โปร่งใส และมีความรับผิดชอบอ่านต่อ ...
Alita Sharon
ยกระดับโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก เพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมเทคโนโลยีระดับโลก
เมื่อไม่นานมานี้ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ประกาศการอนุมัติแผนความร่วมมือภาครัฐ – เอกชน ในโครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล(EECD) ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของโครงการริเริ่มการพัฒนาเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ โครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัลของไทย (EECD) ครอบคลุมพื้นที่ 115 เฮกตาร์ (ประมาณ 720 ไร่) ตั้งอยู่ในเขตอีอีซี โดยมีแผนพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถผลิกโฉมภูมิภาคนี้ให้กลายเป็นจุดหมายของนักพัฒนาระบบดิจิทัลอ่านต่อ ...
บล็อกเชนบุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
20 ปีที่ผ่านมา ไม่มีใครสามารถคาดเดาได้อย่างถูกต้องว่าผลกระทบใหญ่ของสิ่งประดิษฐ์ เช่น สมาร์ทโฟน และเวิลด์ไวด์เว็บจะเปลี่ยนแปลงมนุษยชาติ ขณะที่บางความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกลับต้องสะดุดล้ม และนั่นอาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับเทคโนโลยีบล็อกเชนอ่านต่อ ...
การเสริมสร้างความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ของอาเซียน
การก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถือเป็นภัยคุกคามมาอย่างยาวนาน โดยก่อนหน้านี้กลุ่มผู้ก่อการร้ายได้ก่อเหตุในพื้นที่ดังกล่าวด้วยการคุกคามจากความรุนแรงทางกายภาพตั้งแต่การวางระเบิดไปจนถึงการลักพาตัว อย่างไรก็ตามในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของอินเทอร์เน็ต บรรดาผู้ก่อการร้ายได้พบวิธีใหม่ในการโจมตีเป้าหมาย ความกังวลจากการเติบโตของการก่อการร้ายในโลกไซเบอรของภูมิภาคได้เพิ่มอย่างมาก และผู้เชี่ยวชาญได้เรียกร้องภูมิภาคมีการตอบโต้แบบค่อยเป็นค่อยไปอ่านต่อ ...