นักวิจัยคิดค้นนวัตกรรมกว่า 60 รายการเพื่อช่วยจัดการกับมลพิษทางอากาศ

หลังจากที่เกิดหมอกควันเข้าปกคลุมทั่วกรุงเทพฯ อีกทั้งในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได้คิดค้นนวัตกรรมกว่า 60 รายการ ที่เป็นเทคโนโลยีที่สามารถนำไปใช้งานได้จริงอีกทั้งนักวิชาการยังเสนอไอเดียหลายอย่าง เช่น การเก็บภาษีเพิ่มเติมสำหรับยานพาหนะและน้ำมันเชื้อเพลิง การคิดค่าธรรมเนียมสำหรับการเข้าสู่ย่านศูนย์กลางธุรกิจ สนับสนุนการใช้รถไมโครบัสไฟฟ้า และขยายการใช้ระบบตรวจจับหมอกควันที่มีประสิทธิภาพไปยังภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

เรียกร้องให้โรงเรียนในเชียงใหม่หยุดการเรียนการสอน เนื่องจากวิกฤตหมอกควันรุนแรงยิ่งขึ้น

เนื่องด้วยจังหวัดเชียงใหม่ได้ถูกจัดอันดับในเรื่องมลพิษทางอากาศที่เลวร้ายที่สุดในโลก จึงได้มีเพิ่มขึ้นของคำเรียกร้องให้โรงเรียน และสถาบันการศึกษาในจังหวัดภาคเหนือ ต้องหยุดการเรียนการสอนชั่วคราว เพื่อประโยชน์ของนักเรียนอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ผู้เชี่ยวชาญชี้การห้ามเผาไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาหมอกควันที่มีประสิทธิภาพ

เมื่อวานนี้ผู้เชี่ยวชาญได้ออกมาเตือนการเคลื่อนไหวในการควบคุมหมอกควันในภาคเหนือนั้นไม่ได้ผล เนื่องจากทางการมุ่งเน้นไปที่การควบคุมไฟจากภายนอกเท่านั้น  เมื่อใกล้ถึงฤดูร้อนประชาชนในภาคเหนือต้องเผชิญกับหมอกควันประจำฤดูกาล ซึ่งโดยปกติจะเริ่มในเดือนมีนาคมถึงแม้ว่านักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นเชื่อว่าการออกคำสั่งห้ามไฟไหม้กลางแจ้งสองเดือนไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ พวกเขายังชี้ให้เห็นว่าการป้องกันไฟป่าจะส่งผลเสียมากกว่าผลดีต่อระบบนิเวศป่าผลัดใบที่แห้งแล้งอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ความหวังบนพลาสติก ‘ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม’ เปลี่ยนเป็นกระแสต่อสู้เพื่อสิ่งแวดล้อม

พลาสติกที่มีฉลากที่ระบุว่าสามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพโดยอุตสาหกรรมได้กลายเป็นที่นิยม และมีราคาที่ไม่แพง เนื่องจากประชาชนได้ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากความเสียหายมากมายที่เกิดจากพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ภาชนะบรรจุอาหาร หลอดพลาสติก และสิ่งของอื่น ๆอ่านต่อ ...

นพคุณ ลิ้มสมานพันธ์

หลีกหนีวิกฤตมลพิษของ PM2.5 ในกรุงเทพฯ

สำหรับลูกค้าที่ก้าวเข้าสู่ “ลานไม้ไทย” ซึ่งเป็นร้านค้าต้นไม้ขนาดเล็กที่ดำเนินการโดยคุณมณี ศิริพลิกาในเขตมีนบุรีใกล้ตลาดจตุจักร 2 เปรียบเสมือนกับการเดินเข้าไปในโอเอซิสเพราะสภาพแวดล้อมโดยรอบนั้นเต็มไปด้วยมลพิษ และเสียงรบกวน ซึ่งอยู่ใกล้กับจุดก่อสร้างสถานีรถไฟฟ้าสายสีส้ม สถานีมีนบุรีที่อยู่ห่างออกไปเพียง 200 เมตร เท่านั้นอ่านต่อ ...

พิชชา แดงประสิทธิ์

กรีนพีซจัดอันดับ 10 เมืองที่มีมลพิษทางอากาศเลวร้ายที่สุดในประเทศไทย

กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ใช้ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ และแผนที่ดาวเทียมที่สามารถตรวจวัดความเข้มข้นของ PM2.5 ได้ เพื่อระบุพื้นที่ 10 เมืองที่ประสบปัญหามลพิษทางอากาศที่เลวร้ายที่สุดในประเทศไทยอ่านต่อ ...

ยักษ์ใหญ่ที่ผลิตขยะพลาสติกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อินโดนีเซียควรละอายใจในสถานะประเทศผู้ผลิตขยะพลาสติกรายใหญ่อันดับสองของโลกรองจากจีน ซึ่งรัฐบาลและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ต้องทำทุกอย่าง เพื่อพลิกสถานการณ์ที่น่าตกใจนี้อ่านต่อ ...

ข่าวด่วน สั่งปิดโรงเรียนทั่วกรุงเทพหลังสภาพอากาศเลวร้าย

ในวันพุธที่มา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครสั่งระงับการเรียนการสอนใน 437 โรงเรียนทั่วกรุงเทพมหานคร เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน หลังจาก 26 เขตในเมืองหลวงได้ถูกประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมมลพิษทางอากาศอ่านต่อ ...

กรีนพีซเรียกร้องให้ใช้มาตรการทางกฎหมายกับ PM2.5

กรีนพีซประเทศไทยเรียกร้องให้กรมควบคุมมลพิษออกกฎหมาย เพื่อต่อสู้กับฝุ่นละอองขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือน้อยกว่า (PM2.5)ดูต่อ ...

รายงานพิเศษ: การแสวงหาอากาศหายใจที่บริสุทธิ์

ทุกคนต่างรู้ดีว่าหมอกควันที่เกิดขึ้นเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน แต่ความท้าทายที่แท้จริงคือวิธีการแก้ไขปัญหา พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยืนยันต่อสาธารณชนในวันพุธที่ผ่านมาว่ารัฐบาลมีแผนการ และจะดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหาหมอกควันอันตรายจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 แต่ทางออกที่แท้จริงนั่น ผู้เชี่ยวชาญด้านมลพิษทางอากาศชี้ให้เห็นว่าจะต้องมีระบบการขนส่งที่ยั่งยืน เช่นเดียวกับการกระทำที่จริงจังเช่น การจำกัดยานพาหนะที่ก่อให้เกิดมลพิษ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในแผนระยะยาวอ่านต่อ ...

ปิยะพร วงศ์เรือง

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

XTnv4
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!