ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การทำลายวงจรฝุ่นพิษ PM2.5
ประเทศไทยมีชื่อเสียงด้านการตอบสนองแบบเฉพาะกิจต่อปัญหาที่เกิดขึ้นและคาดการณ์ล่วงหน้าได้ นับตั้งแต่น้ำท่วมตามฤดูกาลและภัยแล้งไปจนถึงอุบัติเหตุบนท้องถนนในช่วงวันหยุด ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาหมอกควันที่เกิดจากฝุ่นละอองขนาดเล็กที่รู้จักกันในชื่อ PM2.5 ที่สร้างปัญหาต่อสุขภาพได้กลายเป็นอีกหนึ่งภัยคุกคามที่คาดการณ์ได้ ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดมาตรการ “ระยะยาว” ถึงแม้ว่าสิ่งเหล่านี้ดูเหมือนจะกว้างเกินไปอ่านต่อ ...
เศรษฐกิจแบบหมุนเวียนจะสามารถแก้ปัญหาขยะพลาสติกล้นโลก
พวกเรากำลังจมอยู่ในกองขยะพลาสติก หากเราไม่ยอมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ภายในปี พ.ศ.2593 ขยะพลาสติกจะมีปริมาณมากกว่าปลาในมหาสมุทร การแก้วิกฤติครั้งนี้ทำให้ต้องดำเนินการแก้ไขมากกว่าแค่ห้ามใช้หลอดพลาสติก โดยต้องเปลี่ยนกรอบความคิด ต้องนำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเชิงลึกมาปรับใช้กับรูปแบบการผลิตและการบริโภคพลาสติก เพื่อที่จะย้ายออกจากระบบเศรษฐกิจเดิมที่เป็นเส้นตรงคือ “Take-Make-Use-Dispose” ไปสู่ “closed-loop” อย่างเศรษฐกิจแบบหมุนเวียน อ่านต่อ ...
รัฐบาลสั่งการให้จัดการกับการรุกล้ำของน้ำทะเล
รัฐบาลกำลังควบคุมการรุกล้ำของน้ำเค็มในแม่น้ำสำคัญสี่สายรวมถึงแม่น้ำเจ้าพระยา เนื่องจากระดับน้ำจืดที่ลดต่ำลงอาจส่งผลกระทบต่อการผลิตน้ำประปา โดยทางเจ้าหน้าที่กลัวว่าการขาดน้ำจืดจะทำให้น้ำทะเลไหลลงสู่แม่น้ำอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
สำนักระบายน้ำกรุงเทพฯ เผยพบขยะในคูคลองสะสม 5 ปี เกือบ 4 แสนตัน
สำนักการระบายน้ำกรุงเทพมหานครได้รายงานว่าทางสำนักฯได้ทำการเก็บขยะในคลองทั่วกรุงเทพฯ ได้กว่า 400,000 ตันในตลอดห้าปีที่ผ่านในช่วงระหว่างปี พ.ศ.2558-2562 ทาง กทม. ได้ทำการรวบรวมขยะจำนวน 387,261 ตันจากคลอง 948 แห่งทั่วกรุงเทพฯ นายสรรเสริญ เรืองฤทธิ์ หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมระบบป้องกันน้ำท่วม กล่าวว่า “ขยะเหล่านี้มาจาก 2 แหล่ง คือ ขยะที่ล้นถังขยะทำให้มีขยะตกลงไปในคลอง และขยะจากโรงงานและที่อยู่อาศัยซึ่งทิ้งเศษขยะลงในคลองอย่างจงใจ” อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ และกรีนพีซเรียกร้องให้มีการประชุมระดับโลกด้านวิกฤตพลาสติก
มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ (Heinrich Boll) และกรีนพีซจัดแถลงข่าวสั้น ๆ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคมที่ผ่านมา ณ สำนักงานมูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในกรุงเทพฯ ซึ่งตัวแทนจากทั้งสององค์กรเรียกร้องให้มีการประชุมระดับโลกเรื่องวิกฤตพลาสติก และแนวทางในการจัดการขยะพลาสติกครบวงจรอ่านต่อ ...
กรมชลฯเตือนภาคอีสานอาจขาดแคลนน้ำ
เมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมา กรมชลประทานได้ประกาศเตือนถึงปริมาณน้ำสำรองในเขื่อนสำคัญทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และให้คำแนะนำแก่ผู้อยู่อาศัยว่าน้ำที่เหลือจะเพียงพอสำหรับการบริโภคเท่านั้นกรมชลประทาน ภายใต้การบริหารงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายงานว่าได้ติดตั้งเครื่องสูบน้ำประมาณ 80 เครื่อง เพื่อจ่ายน้ำสำหรับการเกษตรและการบริโภคใน 5 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออ่านต่อ ...
จีนสั่งห้ามเรือทุกชนิดเข้า-ออกไม่มีกำหนดพร้อมเดินหน้าระเบิดแก่งหินเปิดร่องน้ำโขง
ทางการจีนได้ประกาศห้ามเรือทุกชนิดเข้า-ออก พร้อมขึงสลิงกั้นน้ำโขงไม่มีกำหนด เนื่องจากจะมีการปรับปรุงเกาะแก่งหรือระเบิดในแม่น้ำโขงตั้งแต่เขตเมืองกวนเหล่ย ขึ้นไปจนถึงทางตอนเหนืออย่างน้อยถึงเขตเมืองกาลันป้า เขตปกครองตนเองสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ระยะทางประมาณ 50-60 กิโลเมตรอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
กรมอนามัยแนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยเพื่อป้องกัน PM 2.5
แพทย์หญิงพรรณพิมล วิปุลากร อธิบดี กรมอนามัยคาดการณ์เมื่อวันพฤหัสบดี (12 ธันวาคม) ที่ผ่านมาว่า มลพิษทางอากาศจะเพิ่มสูงขึ้นในสุดสัปดาห์นี้ และปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 ได้เกินเกณฑ์มาตรฐานในกรุงเทพและพื้นที่ใกล้เคียงอีกครั้งโดยแพทย์หญิงพรรณพิมล กล่าวว่า “ปัจจุบันระดับดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) อยู่ที่ 101-200 ซึ่งระบุด้วยสีส้ม และจะเริ่มส่งผลกระทบต่อสุขภาพ หากผู้คนได้รับอากาศนานเกินไป” พร้อมกล่าวเสริมว่า “เนื่องจากไม่มีลมแรงในช่วงฤดูหนาว อากาศจะหยุดนิ่ง ทำให้ฝุ่นละอองไม่ถูกพัดพาออกไป”อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
แม่น้ำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กำลังถูกคุกคาม
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีแม่น้ำหลายสายทั้งแม่น้ำสายเล็กๆ ไปจนถึงแม่น้ำสายหลัก แม่น้ำที่รู้จักกันดีที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ แม่น้ำโขง ที่ไหลผ่าน 5 ประเทศในภูมิภาคนี้แม่น้ำโขงเป็นแม่น้ำที่ยาวที่สุดอันดับที่ 12 ของโลก เป็นแหล่งน้ำที่สำคัญสำหรับอุปโภคบริโภค การทำประมงน้ำจืด และการเกษตรสำหรับผู้คนนับล้าน แต่ทว่าแม่น้ำโขงก็ยังเป็นที่ทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูล ซึ่งทำให้แม่น้ำโขงกลายเป็นหนึ่งในแม่น้ำที่มีมลพิษมากที่สุดในภูมิภาคอ่านต่อ ...
ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองในกรุงเทพฯ กำลังกลับมา
ปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองได้กลับมาเยือนกรุงเทพฯ อีกครั้งในเช้าวันอังคาร หลังระดับ PM 2.5 เกินระดับความปลอดภัยในสถานีตรวจสอบ 7 แห่ง โดยมีค่าสูงถึง 57 ไมโครกรัมต่ออากาศลูกบาศก์เมตรสำนักงานสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร รายงานว่าระดับฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) สูงกว่าระดับที่ปลอดภัยในเขตบางเขน หลักสี่, ภาษีเจริญ บางซื่อ ปทุมวัน บางคอแหลม และคลองสานอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์