การผลิตไฟฟ้า
พลังงานน้ำ
ที่สุดแห่งปี 2561 : ภัยพิบัติหลังภัยพิบัติในแม่น้ำโขง
จากทะเลไปจนถึงแหล่งต้นน้ำ แม่น้ำโขงทอดยาวกว่า 5,000 กิโลเมตรผ่านหกประเทศ และเป็นแหล่งน้ำเพื่อการดำรงชีวิตแก่ผู้คนกว่า 60 ล้านคน ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพเป็นรองเพียงแค่แม่น้ำอเมซอนเท่านั้น ช่างภาพ Gareth Bright และ Luke Forsyth ใช้เวลากว่าสิบแปดเดือนในการเดินทางจากสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขงในประเทศเวียดนามไปยังแหล่งต้นน้ำในที่ราบสูงชิงไห่ ประเทศทิเบต เพื่อบันทึกความสำคัญของแม่น้ำสายใหญ่นี้สำหรับผู้คนที่อาศัยอยู่บริเวณริมฝั่ง พวกเขากลับมาพร้อมกับเรื่องราวที่บาดใจของผู้คนที่ต่อสู้ดิ้นรนเพื่อที่อยู่อาศัยตามแนวแม่น้ำอ่านต่อ ...
ชาวบ้านตามแนวแม่นำ้โขงเตือน 'แม่น้ำไม่ได้มีไว้ขาย'
ชาวเเชียงราย ภาคเหนือของประเทศไทยเล่าถึงวิถีชีวิตของพวกเขาว่า “พวกเขาใช้เวลาสามวันในการจับปลา และอีกสองวันในการตากตาข่าย” ซึ่งพวกเขาจับปลาในฤดูฝน จากนั้นเมื่อฤดูแล้งมาถึงเขาก็วางตาข่ายจับปลาลง และปลูกพืช นี่คือวิถีชีวิตที่ครอบครัวของพวกปฎิบัติสืบมามาหลายชั่วอายุคน และพวกเขาหวังว่าลูก ๆ ของพวกเขาจะสนุกกับชีวิตเหมือนกัน แต่ชาวบ้านได้กังวลกับโครงการตามแม่น้ำโขง เช่น เขื่อน การปรับปรุงช่องทางเดินเรือ และเขตเศรษฐกิจใหม่จะเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น และรบกวนชีวิตและขนบธรรมเนียมที่เงียบสงบของพวกเขาอ่านต่อ ...
แนวโน้มของเขื่อนในลุ่มน้ำโขง
กว่าหลายร้อยเขื่อนในลุ่มแม่น้ำโขง ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่กำลังถูกนำเสนอการก่อสร้างโครงการ จากผลการวิจัยใหม่ของมหาวิทยาลัยมิชิแกนสเตทพบว่าผลเชิงลบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมที่กระทบต่อทุกสิ่งจากความมั่นคงด้านอาหารไปสู่สภาพแวดล้อมมีค่ามากกว่าการควบคุมน้ำท่วมในสเกลขนาดใหญ่อ่านต่อ ...
หลักฐานที่ประจักษ์ถึงผลกระทบของเขื่อนต่อนกในป่าฝน
จากการศึกษาของทีมนักวิทยาศาสตร์ด้านการอนุรักษ์แห่งชาติพบว่าเขื่อนที่ถูกสร้างขึ้นในประเทศไทย เมื่อ 31 ปีก่อน ทำให้เกิดการพังทลายของประชากรนกในท้องถิ่นอ่านต่อ ...
ชาวบ้านหวั่นการเดินหน้าระเบิดแก่งหินในแม่น้ำโขง
ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ตามแม่น้ำโขงในอำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงรายแสดงความไม่เห็นด้วยอย่างมากต่อการรับฟังความคิดเห็นจากสาธารณชนเกี่ยวกับแผนการของจีนที่จะระเบิดแก่งหิน พวกเขาไม่ต้องการพูดคุย และไม่ยอมทนเกี่ยวกับข้อเสนอนี้อีกต่อไป อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
การต่อสู้กับจีนในลุ่มน้ำโขง
ประเทศในลุ่มน้ำแม่น้ำโขง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่ลุ่มน้ำตอนล่างของแม่น้ำที่ยาวที่สุดเป็นอันดับที่เจ็ดของเอเชียกำลังต้องการผลักดันยุทธศาสตร์ร่วมกัน เพื่อรักษาอนาคตของตน โดยการควบคุมส่วนต้นน้ำของจีน และการเปลี่ยนแปลงภูมิศาสตร์การเมืองสากลอย่างต่อเนื่องอ่านต่อ ...
ทำไมลุ่มแม่น้ำโขงถึงมีความสำคัญ
เมื่อเดือนธันวาคมปีที่แล้วนายหวัง อี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของจีนวังยี่ กล่าวว่า ประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงควรสร้าง “ชุมชนร่วมกันในอนาคต” กรอบความร่วมมือลุ่มน้ำลำโขง (LMC) จะเกิด “ประโยชน์ และมีประสิทธิภาพสูง” พร้อมกล่าวว่า เราไม่ได้ไปที่ “ร้านพูดคุย” ชั้นสูง แต่เป็น “รถไถ” ที่ลงสู่พื้นอ่านต่อ ...
ประเทศในเอเชียมีกำลังการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำมากที่สุด?
ตามรายงานสถานะโรงไฟฟ้าพลังน้ำในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และแปซิฟิกมีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยจีนมีส่วนแบ่งกำลังผลิตติดตั้งมากที่สุด กว่าร้อยละ 90 ของกำลังการผลิตที่เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2560 ในภูมิภาคนี้ประเทศจีนเพิ่มกำลังผลิตติดตั้งรวมทั้งสิ้นเป็น 341,190 เมกะวัตต์อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
จีนปรับโฉมแม่น้ำโขงที่สำคัญต่อการขยายตัวทางพลังงานของจีน
จีนกำลังสร้างเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าพลังน้ำมากมายในแม่น้ำโขง ซึ่งนักวิเคราะห์จะกล่าวเพียงความจำเป็นในการผลิตกระแสไฟฟ้า ในขณะที่อีกด้านกำลังก่อภัยร้ายครั้งใหญ่ต่อสิ่งแวดล้อมหมู่บ้านสบรวกของไทย ซึ่งเป็นศูนย์กลางของสามเหลี่ยมทองคำเป็นบริเวณที่ประเทศไทย ลาว และพม่ามาบรรจบกันนั้นก็ได้รับผลกระทบโดยไม่มีข้อยกเว้น รถโดยสารประจำทางขนส่งนักท่องเที่ยวชาวจีนหลายพันคนมาซื้อเครื่องประดับเล็ก ๆ ถ่ายรูปเซลฟี่ และทัวร์พิพิธภัณฑ์หอฝิ่น (Hall of Opium) ในบริเวณใกล้เคียง และไม่ใช่แค่นักท่องเที่ยวที่มาจากประเทศจีนเท่านั้นอ่านต่อ ...
เขื่อนต้นน้ำเป็นภัยคุกคามต่อมะเขือเทศและเกษตรกร
พื้นที่การผลิตมะเขือเทศที่ดีที่สุดของไทยตามแนวแม่น้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากเขื่อนในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ที่ทำให้สร้างความทุกข์ทรมานทางการเงิน แก่เกษตรกรในท้องถิ่น และคุกคามวิถีชีวิตของพวกเขาอ่านต่อ ...
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์