รมต.แรงงานบรรยายสรุปมาตราการแก้ไขการขาดแคลนแรงงานในภาคการประมงของไทย

พลเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการประชุมในวันพฤหัสบดี (8 พ.ย.) ที่ผ่านมา เพื่อขับเคลื่อนมาตรการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการประมงของประเทศไทยอ่านต่อ ...

ธนกร เสงี่ยม

ห่วงโซ่อุปทานที่ยั่งยืน

การสั่งซื้ออาหารทะเลประเภทปลาทูน่าอาจจะไม่สบอารมณ์มากนัก แต่อาจเป็นได้ว่าประชาชนตระหนักถึงความอยุติธรรม และอันตรายทางระบบนิเวศโดยการค้าประมงสมัยใหม่ อ่านต่อ ...

ประชุมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอาเซียนเห็นชอบข้อเสนอในการผลักดันความร่วมมือแก้ปัญหา IUU ระดับภูมิภาค

พล.ต.คงชีพ ตันตระวาณิชย์ โฆษกกระทรวงกลาโหม เปิดเผยผลการประชุมว่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมอาเซียนเห็นด้วยกับข้อเสนอของไทยในการที่ชุมชนจะเพิ่มความร่วมมือในระดับภูมิภาคในการต่อสู้กับการทำประมงที่ผิดกฎหมาย การประมงที่ขาดการรายงาน และการประมงที่ขาดการควบคุม (IUU) อ่านต่อ ...

วาสนา นาน่วม

ผลประโยชน์เชิงบวกที่ได้รับจากการต่อสู้กับการประมงที่ผิดกฎหมาย

นับตั้งแต่ปี 2558 ประเทศไทยได้พยายามอย่างมากในการฟื้นฟูอุตสาหกรรมประมงทั้งหมด เพื่อที่จะป้องกันการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) ในประเทศไทย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรทางทะเลความท้าทายของการประมงที่มากเกินไปได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างครอบคลุม โดยใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพหลายประการ ซึ่งรวมถึงการควบคุมเครื่องมือประมงที่มีขีดความสามารถในการจับสูง ห้ามใช้วิธีการประมงแบบทำลายล้าง การปิดอ่าวไทยตามฤดูกาลเพื่อให้สัตว์ทะเลสามารถวางไข่ และออกมาตรการการจำกัดการออกใบอนุญาตตามอัตราผลตอบแทนที่ยั่งยืนสูงสุดอ่านต่อ ...

ไทยรับแรงงานต่างด้าวทำงานในภาคประมงทะเลผ่านระบบ MOU

เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2561 พลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน พร้อมด้วยนายเต็ง ส่วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ตรวจคนเข้าเมือง และประชากร สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ได้ร่วมกันเปิดศูนย์แรกรับเข้าทำงานและสิ้นสุดการจ้างจังหวัดระนองเพื่อรองรับแรงงานเมียนมาที่จะเข้ามาทำงานในภาคประมงทะเลเป็นการเฉพาะ ซึ่งเป็นการดำเนินงานตามผลการหารือระหว่างไทยกับเมียนมาผ่านระบบบันทึกความเข้าใจแบบรัฐต่อรัฐ (MOU) โดยจะมีแรงงานจากเมียนมาเข้ามาทำงานในภาคประมงทะเลที่ผ่านระบบ MOU ชุดแรกจำนวน 67 คนอ่านต่อ ...

ภาคธุรกิจต้องการการแปลงวาทศิลป์สิทธิมนุษยชนสู่ภาคปฏิบัติ

ในช่วงห้าปีที่ผ่านมา บริษัทข้ามชาติชั้นนำมีความตั้งใจมากขึ้นในการประกาศต่อสาธารณชนต่อความเสี่ยง และความท้าทายของแรงงานบังคับ และทาสสมัยใหม่ในห่วงโซ่อุปทาน นับเป็นการพัฒนาที่น่ายินดีอ่านต่อ ...

ไทยยูเนี่ยนมุ่งมั่นที่จะช่วยประเทศไทยจัดการกับปัญหาการประมงอย่างยั่งยืน

ความคืบหน้าของประเทศไทยในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในอุตสาหกรรมประมงจะได้รับการกล่าวถึงในการประชุมเกี่ยวกับทาสสมัยใหม่ และการค้ามนุษย์ในที่ประชุมสมัชชาแห่งสหประชาชาติ (UNGA) ณ กรุงนิวยอร์กในวันนี้ (24 ก.ย.)อ่านต่อ ...

จินตนา ปัญญาอาวุธ

เส้นทางสู่การประมงอย่างยั่งยืน ตามกฎหมายและควบคุมโดยไทย

พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรีของไทย กล่าวถึงความมุ่งมั่นของประเทศที่จะทำให้อุตสาหกรรมการประมงสามารถแข่งขันได้ทั้งในระดับโลก และยั่งยืนรวมทั้งเป็นอิสระจากกิจกรรมที่ผิดกฎหมายไม่มีการรายงานและไม่ได้รับการควบคุม (IUU)อ่านต่อ ...

รองนายกรัฐมนตรีนำคณะทูตร่วมสังเกตการณ์การรื้อทำลายซากเรือประมงนอกระบบทะเบียนเรือไทย และเข้าชมกระบวนการตรวจสอบย้อนกลับของโรงงานแปรรูปสัตว์น้ำ

เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2561 พลเอก ฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรี ได้นำคณะทูตานุทูต จากสหภาพยุโรป ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกาและประเทศสมาชิกอาเซียน รวม 10 ประเทศ เข้าร่วมสังเกตการณ์การรื้อทำลายซากเรือประมงนอกระบบทะเบียนเรือไทย จำนวน 9 ลำ บริเวณริมแม่น้ำท่าจีน พร้อมนำชมการยกระดับประสิทธิภาพระบบการตรวจสอบย้อนกลับของไทยที่ได้มาตรฐานสากลของโรงงานแปรรูปสัตว์น้ำ จังหวัดสมุทรสาครอ่านต่อ ...

รัฐบาลจะทำลายเรือประมงผิดกฎหมาย 861 ลำ

รัฐบาลระบุจะดำเนินการรื้อทำลายซากเรือประมงนอกระบบทะเบียนเรือไทยตาม พ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้ำไทย จำนวน 861 ลำ ภายในกลางเดือนธันวาคมนี้ เพื่อให้การแก้ไขปัญหาการทำประมงผิดกฎหมาย (IUU) ของประเทศไทย มีความก้าวหน้าและเห็นผลเป็นรูปธรรมมากขึ้น และมั่นใจถึงความโปร่งใส ตรวจสอบได้ในระบบการประมงของประเทศ ก่อนการประชุมกับสหภาพยุโรปที่จะจัดขึ้นรอบหน้าในเดือนกันยายน​อ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

dkRnN
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!