ประชากร

การย้ายถิ่น

นักวิจัยม.มหิดลแนะ เด็กข้ามชาติต้องการการศึกษาและสถานะทางกฎหมาย

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหิดลเรียกร้องให้รัฐบาลปรับปรุงมาตรการด้านการศึกษา และการย้ายถิ่นอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หลังมีเด็กในภูมิภาคอาเซียนที่ต้องอยู่อย่างผิดกฎหมายเกือบครึ่งล้านคนในประเทศไทย Mark P. Capaldi ได้นำเสนอผลการวิจัยที่จัดทำโดยสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องในวันเด็กสากลวันที่ 20 พ.ย. ซึ่งกล่าวถึง แรงงานข้ามชาติจากกัมพูชา ลาวและพม่านำเด็กเกือบ 500,000 คนเข้ามาในประเทศไทย แต่ส่วนใหญ่อยู่ที่ในประเทศไทยอย่างผิดกฎหมาย โดยไม่มีเอกสารการเดินทางหรือสิทธิพลเมือง และไม่ได้รับการศึกษาอ่านต่อ ...

ฐิติรัตน์ เดชพรหม

ฟอรั่มสะท้อนถึงชะตากรรมของแรงงานข้ามชาติ

ภายในงานฟอรั่มที่จัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมาได้เผยถึงแรงงานหญิงในประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อการถูกทารุณกรรมและถูกเอารัดเอาเปรียบ และมักจะจบลงด้วยการทำงานหนักเป็นเวลานานในภาคที่ยากที่สุด อีกทั้งยังได้รับค่าจ้างต่ำกว่ามาตรฐานPatima Tungouchakul ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน กล่าวในการประชุมที่จัดขึ้นโดย องค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศและเสริมพลังของผู้หญิงแห่งสหประชาชาติ หรือ UN Women เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิทธิของแรงงานหญิงอพยพ ในประเทศไทยมักจะได้รับเงินน้อยกว่าผู้ชายที่ทำงานในลักษณะเดียวกันอ่านต่อ ...

ดำรงเกียรติ มาลา

กระทรวงแรงงานเตรียมขยายใบอนุญาติทำงานแก่แรงงานต่างด้าว

กระทรวงแรงงานเตรียมเสนอขยายเวลาใบอนุญาตทำงานสำหรับแรงงานข้ามชาติต่อไปอีกสองปีให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาภายในเดือนนี้ โดยมีแรงงานข้ามชาติที่ผ่านคุณสมบัติราวสองล้านคนทั้งจากลาว กัมพูชา และพม่าอ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

'เด็ก' ที่เกิดจากแรงงานข้ามชาติขาดสิทธิในการเข้าถึงศึกษาขั้นฐาน

ในขณะที่บริษัทแปรรูปอาหารทะเลกว่า 42 แห่งได้เข้าร่วมแคมเปญ เพื่อรับประกันค่าแรงที่เป็นธรรม การขาดสิทธิ์ในการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กที่เกิดจากแรงงานข้ามชาติกว่า 200,000 คน ในภาคการประมงจะยังคงเป็นปัญหาใหญ่ระดับชาติของประเทศไทยต่อไปอ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

สหภาพยุโรปสนับสนุนเงิน 80 ล้านบาทให้แก่ยูนิเซฟ เพื่อคุ้มครองเด็กผู้อพยพ และเด็กไร้สัญชาติในประเทศไทย

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา องค์การยูนิเซฟได้ระบุว่า สหภาพยุโรปได้สนับสนุนเงินทุนมากกว่า 80 ล้านบาทให้กับยูนิเซฟเพื่อสนับสนุนความพยายามในการเสริมสร้างนโยบาย และการปฏิบัติในการปกป้องเด็กอพยพ และไร้สัญชาติในประเทศไทยตลอดช่วงสามปีข้างหน้า อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

แรงงานย้ายถิ่นกัมพูชากำลังเสี่ยงในประเทศไทย

รายงานการย้ายถิ่นของประเทศไทย พ.ศ. 2562 ประมาณการว่าในปัจจุบันประเทศมีผู้อยู่อาศัยที่ไม่ใช่ชาวไทยประมาณ 4.9 ล้านคน โดยมีแรงงานย้ายถิ่นจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา และเวียดนาม จำนวนประมาณ 3.9 ล้านคน ที่รอหนังสือรับรอง และไม่มีหนังสือรับรองประเทศไทยได้รับประโยชน์อย่างมากจากการมีอยู่ของแรงงานย้ายถิ่น โดยรายงานระบุว่า แรงงานย้ายถิ่นช่วยเติมเต็มปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึ่งมีส่วนช่วยในการเติบโตทางเศรษฐกิจและมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ ตามสังคมผู้สูงวัยของไทยอ่านต่อ ...

สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองเตรียมผ่อนปรนในข้อกำหนดว่าด้วยรายงานการเคลื่อนไหวทางบัญชี

ด่านตรวจคนเข้าเมืองของไทยกล่าวว่ามีความตั้งใจในการช่วยเหลือแก่ชาวต่างชาติในเรื่องของการพิสูจน์รายได้ เมื่อยื่นขอวีซ่าเกษียณอายุ และการแต่งงาน และการต่ออายุวีซ่าพล.ต.ต.สุรเชษฐ์ หักพาล รักษาการผู้บัญชาการสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองยอมรับว่ามีชาวต่างชาติที่ยื่นขอวีซ่าบางคนมีปัญหาในการจัดทำบัญชีเงินฝาก 12 เดือน ตามเงื่อนไขในขณะนี้อ่านต่อ ...

รัฐบาลเตรียมรื้อแผนห้ามใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือในไทย

ในวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา คณะกรรมการนโยบายจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวเตรียมนำนโยบายที่ห้ามไม่ให้แรงงานข้ามชาติเข้ามาทำงานเป็นแรงงานไร้ฝีมือในประเทศไทยกลับมาใช้อีกครั้งพลตำรวจเอก อดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานกล่าวว่ามีเพียงแรงงานข้ามชาติจากประเทศที่ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MoU) เพื่อบรรเทาปัญหาการขาดแคลนแรงงานในประเทศไทยเท่านั้นที่สามารถทำงานในฐานะแรงงานไร้ฝีมือในประเทศได้อ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

ไทยอาจเป็นแชมป์สำหรับผู้อพยพ

ในสัปดาห์นี้ ณ กรุงนิวยอร์ก ถือเป็นโอกาสอันสำคัญในพิธีลงนามและปิดผนึก การรับรองอย่างเป็นทางการของข้อตกลงระหว่างประเทศว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐาน ที่ปลอดภัย เป็นระเบียบ และปกติโดยสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติอ่านต่อ ...

ความล้มเหลวของโครงการสวัสดิการในแรงงานข้ามชาติ

แรงงานต่างด้าวหลายคนในประเทศไทยรู้สึกถึงความไม่มั่นคง และถูกเอาเปรียบภายใต้โครงการสวัสดิการของประเทศที่มีอยู่ หลังจากผ่านไป 13 ปีในประเทศไทย นายเนย์ ซามู ได้เห็นชาวพม่าหลายคนสูญเสียแขนขาในขณะทำงาน และพวกเขายังไม่ได้รับค่าชดเชยใดๆเลยอ่านต่อ ...

กรรวี ปัญญาศุภคุณ

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

6UsCh
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!