เศรษฐกิจและการพานิชย์
อาคมเผยการลงทุนภาครัฐเป็นตัวเร่งผลักดันการเติบโตในปี พ.ศ.2566-2567
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเผยการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยคาดว่าจะกระเตื้องขึ้นในปี พ.ศ.2566 ถึง 2567 โดยได้รับแรงหนุนจากการลงทุนภาครัฐหลังจากฟื้นตัวอย่างช้าๆจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนานายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษเนื่องในงานสัมมนาทางธุรกิจว่า รัฐบาลยังคงเป้าหมายการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ที่ร้อยละ 4 ในปีนี้ โดยได้รับแรงหนุนจากการใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน การส่งออก และการท่องเที่ยวอ่านต่อ ...
สศค.เตือนรัฐบาลเป้าเศรษฐกิจโต 4% เป็นเรื่องยาก
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง (สศค.) เผยเป้าหมายที่ทะเยอทะยานของรัฐบาลในการเติบโตทางเศรษฐกิจให้ได้ร้อยละ 4 ในปีนี้จะเป็นเรื่องที่ยาก และต้องใช้ความพยายามอย่างมาก อีกทั้งปัจจัยสนับสนุนมากมาย เช่น การส่งออกที่สูงขึ้น การฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติ และการลงทุนภาคเอกชนที่เข้มแข็งนายวุฒิพงศ์ จิตตั้งสกุล ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง กล่าวว่าหากรัฐบาลหวังจะบรรลุตัวเลขร้อยละ 4 การส่งออกต้องขยายตัวมากกว่าร้อยละ 6.2 นักท่องเที่ยวต่างประเทศน่าจะต้องเกิน 5 ล้านคน และการลงทุนภาคเอกชนต้องขยายตัวมากกว่าร้อยละ 3.4อ่านต่อ ...
วิชิต จันทนุสรณ์ศิริ
กระทรวงพาณิชย์หนุนผู้ส่งออกอาหารไทยด้วยใบรับรองแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการป้องกันโควิด
กระทรวงพาณิชย์เปิดตัวแคมเปญ“ Thailand Deliver with Safety” เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผลิตภัณฑ์อาหารไทยในช่วงการระบาดของโควิด -19 โดยเน้นย้ำถึงแนวทางการผลิตที่ปลอดภัยในปี พ.ศ.2563 หน่วยงานภาครัฐ 4 กระทรวง ได้แก่ พาณิชย์ สาธารณสุข เกษตรและสหกรณ์ และมหาดไทยได้ร่วมกันลงนาม MOU เรื่องแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดในการป้องกันโควิด -19 ในการผลิตอาหารเพื่อการส่งออก โดยมีเป้าหมายเพื่อให้การรับรองการปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ปลอดภัยจากโควิด-19แก่ธุรกิจไทยที่มีแนวทางการผลิตเป็นไปตามมาตรฐานสากลอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ธปท. พัฒนาสกุลเงินดิจิทัลสำหรับประชาชน [วิดีโอ]
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธ ปท.) ตระหนักดีถึงประโยชน์ของสกุลเงินดิจิทัลและคริปโทเคอร์เรนซี อีกทั้งทางธปท.ได้เริ่มพัฒนาสกุลเงินดิจิทัลสำหรับประชาชนชาวไทยดูต่อ ...
ผลสำรวจพบ ยุคโควิด-19 ผู้บริโภคชาวไทยส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับวินัยทางการเงินที่สุดในอาเซียน
ผู้บริโภคชาวไทยจำนวนมากให้ความสำคัญกับสุขภาพทางการเงินในช่วงที่เกิดการระบาดของโรคโควิด -19 เมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนตามรายงานของ UOB Asean Consumer Sentiment Study 2020ผลการศึกษาพบว่าผู้บริโภคชาวไทยเกือบ 3 ใน 4 (ร้อยละ 72) ต้องการจัดการสุขภาพทางการเงินเหนือผู้ตอบแบบสอบถามในมาเลเซีย (ร้อยละ 70) เวียดนาม (ร้อยละ 69) อินโดนีเซีย (ร้อยละ 60) และสิงคโปร์ (ร้อยละ 46)อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบสามเดือน
นักเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคของไทยเพิ่มขึ้นเป็นครั้งแรกในรอบ 3 เดือนสู่ระดับ 49.4 จุดในเดือนกุมภาพันธ์หลังจากลดลงเป็นเวลาสองเดือนติดต่อกันสู่ระดับต่ำสุดในรอบ 9 เดือนที่ 47.8 จุดในเดือนมกราคมนายธนวรรธน์ พลวิชัย ประธานที่ปรึกษาศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า “ผู้บริโภครู้สึกโล่งใจมากขึ้นเกี่ยวกับการระบาดของโควิด -19 ในประเทศด้วยแผนการฉีดวัคซีน” อ่านต่อ ...
การผ่อนปรนมาตรการช่วยเพิ่มความเชื่อมั่นในอุตสาหกรรมค้าปลีก
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการค้าปลีกของไทยในเดือนกุมภาพันธ์เพิ่มขึ้น 43% เมื่อเทียบกับเดือนมกราคม เนื่องจากการเคลื่อนไหวของรัฐบาลในการผ่อนปรนมาตรการคุ้มเข้มต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับโควิดประธานสมาคมผู้ค้าปลีกกล่าวว่าสมาคมผู้ค้าปลีกไทยและธนาคารแห่งประเทศไทยได้ทำการสำรวจออนไลน์ระหว่างวันที่ 15 ถึง 23 กุมภาพันธ์กับผู้ค้าปลีกกว่า 27,000 รายทั่วประเทศอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ผู้บริโภคชาวไทยเริ่มมีความเข้าใจทางการเงินมากขึ้นในยุคโควิด
ผู้บริโภคชาวไทยจำนวนมากขึ้นให้ความสำคัญกับสุขภาพทางการเงินในช่วงที่มีการระบาดของโรคโควิด -19 เมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนผลการศึกษาพบว่าผู้บริโภคชาวไทย 3 ใน 4 (ร้อยละ 72) ต้องการจัดการสุขภาพทางการเงินเหนือผู้ตอบแบบสอบถามในมาเลเซีย (ร้อยละ 70) เวียดนาม (ร้อยละ 69) อินโดนีเซีย (ร้อยละ 60) และสิงคโปร์ (ร้อยละ 46)อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ครม. เห็ยชอบแก้กฎหมายลดดอกเบี้ยปรับผิดสัญญาเงินกู้ – ชำระหนี้ [วิดีโอ]
คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติการผ่อนปรนกฎหมายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่งกฎหมายนี้ใช้มาแล้วกว่า 95 ปี โดยลดอัตราดอกเบี้ยกรณีผิดสัญญาเงินกู้และกรณีผิดนัดชำระหนี้ เพื่อทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงประโยชน์ของกฎหมายและมีโอกาสชำระหนี้ได้มากขึ้นดูต่อ ...
ดัชนีราคาผู้บริโภคลดลง 12 เดือนติด
ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) ซึ่งเป็นมาตรวัดอัตราเงินเฟ้อทั่วไป เดือนกุมภาพันธ์ของไทยลดลง 1.17% เมื่อเทียบเป็นรายปี นับเป็นการลดลงติดต่อกันครั้งที่ 12 นับตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ.2563นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ ผู้อำนวยการสำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กล่าวว่า การลดลงส่วนใหญ่เป็นผลมาจากมาตรการของรัฐบาลในการลดค่าครองชีพผ่านค่าไฟฟ้าและค่าน้ำ ซึ่งมีผลตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคมอ่านต่อ ...
ผุสดี อรุณมาศ