ระบบและเทคโนโลยีการจัดการสินค้าเกษตร

การชลประทานและการจัดการน้ำ

สทนช.เดินหน้า 100 โครงการจัดการทรัพยากรน้ำ

 นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) กล่าวว่า ทางสทนช.กำลังวางแผนที่จะเดินหน้าต่อไปด้วยโครงการบริหารจัดการน้ำ 100 โครงการมูลค่า 400,000 ล้านบาทก่อนสิ้นปีนี้ เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำที่มีอยู่ถึง 2.9 ล้านลูกบาศก์เมตร และครอบคลุมความต้องการของ 630,000 ครอบครัวทั่วประเทศ อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

รัฐบาลเตรียมรื้อแผนชลประทานในภาคอีสาน

สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) ได้ให้คำมั่นว่าจะดำเนินการโครงการพัฒนาลุ่มน้ำห้วยหลวง ซึ่งเป็นโครงการที่ใช้แม่น้ำโขง เพื่อทำการชลประทานในพื้นที่การเกษตรในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือโครงการดังกล่าวเป็นการกลับชาติมาเกิดของแผนโขง – ชี – มูลซึ่งเป็นโครงการชลประทานที่เริ่มต้นเมื่อ 30 ปีที่แล้ว เพื่อขยายการชลประทานสู่ภูมิภาคอันแห้งแล้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

รมต.อนุมัติแผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำในการรับมือกับปัญหาหลายด้าน

คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อรองรับยุทธศาสตร์น้ำของประเทศ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) โดยแผนแม่บทดังกล่าวมีจุดประสงค์ เพื่อให้สามารถเข้าถึงน้ำดื่มสะอาดมากขึ้น การขยายโครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทาน และพื้นที่ภายใต้การชลประทาน รวมถึงการป้องกันน้ำท่วม และภัยแล้งในพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ONWR ติดตามความคืบหน้าของหกโครงการบริหารจัดการน้ำระยะยาว

สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (ONWR)ได้ส่งทีมเจ้าหน้าที่ไปในหลายจังหวัด เพื่อติดตามความคืบหน้าใน 5 แผนบริหารจัดการน้ำในระยะยาว ในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม และแผนป้องกันการขาดแคลนน้ำดูต่อ ...

ประยุทธ์ยกย่องความสำเร็จของแผนจัดการน้ำ

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวว่า เนื่องจาก “การลงทุนอย่างจริงจัง” ของรัฐบาลในการจัดการน้ำจึงทำให้ประสบความสำเร็จในการจำกัดความเสียหายจากภัยแล้งต่อชุมชน และช่วยเหลือชีวิตผู้คนจากอุทกภัยในช่วงฤดูฝนเมื่อวันพุธที่ผ่านมา สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช.) จัดงานสัมมนาภายใต้หัวข้อ “สร้างรู้ สื่อสาร การบริหารจัดการน้ำฤดูฝน ปี พ.ศ.2562” โดยนายกฯ กล่าวว่ามีผู้เข้าร่วมงานมากกว่า 800 คน ซึ่งรัฐบาลให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณสำหรับโครงการบริหารจัดการน้ำอ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

กทม.อนุมัติเก็บค่าบำบัดน้ำเสีย

ในที่สุดสมาชิกสภากรุงเทพมหานครได้อนุมัติให้มีการบังคับใช้กฎระเบียบเพื่อเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการบำบัดน้ำเสียสำหรับผู้พักอาศัยในกรุงเทพฯหลังจาก 14 ปีที่ไม่มีความแน่นอน คำสั่งของกรุงเทพมหานครได้ประกาศมาตั้งแต่ปี 2004 แต่ยังไม่ได้ดำเนินการ ในการคำนวณค่าบำบัดน้ำเสียจะคิดจากพื้นฐานร้อยละ 80 ของน้ำประปาทั้งหมดที่ใช้ในครัวเรือน และธุรกิจในแต่ละเดือน (ลูกบาศก์เมตร) อ่านต่อ ...

สุพจน์ วรรณเจริญ

ความร้อนและภัยแล้งในประเทศไทย

ตอนนี้เราให้ความสนใจไปที่ข่าวสภาพอากาศ จากรายงานพบว่าฤดูร้อนในปีนี้มาถึงเร็วกว่าในหลายปีที่ผ่านมา หลายจังหวัดประกาศเขตภัยแล้ง ภาครัฐได้เตรียมการสำหรับการขาดแคลนน้ำดูต่อ ...

รัฐบาลแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

รัฐบาลมีความกังวลเกี่ยวกับการขาดแคลนน้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำทั้งหมดเหลือน้อยกว่าครึ่งของความจุ พร้อมขอให้หน่วยงานที่รับผิดชอบดำเนินการตามมาตรการ เพื่อให้มั่นใจว่ามีน้ำเพียงพออ่านต่อ ...

การพัฒนาขื้นใหม่ของคลองทำให้เห็นความหวังของคนในท้องถิ่นมีมากขึ้น

คลองลาดพร้าวเป็นคลองสำคัญในกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีในเรื่องน้ำเน่า ขยะ และการบุกรุกที่ดินตามแนวคลอง แต่ความพยายามในการฟื้นฟูสภาพของกรุงเทพมหานคร โดยมีความหวังว่าสภาพแวดล้อมในพื้นที่คลองดัวกล่าวจะกลับมาน่าอยู่อีกครั้งอ่านต่อ ...

สุพจน์ วรรณเจริญ

พื้นที่หลายจังหวัดของไทยต้องต่อสู้กับปัญหาขาดแคลนน้ำ

หลายจังหวัดกำลังคิดหาวิธีที่บรรเทาสถานการณ์ภัยแล้ง โดยอาศัยรถบรรทุกน้ำส่งไปยังชุมชนที่ไม่ได้อยู่ในพื้นที่เขตชลประทานดูต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

JJGWb
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!