ข่าว

พิธาสับนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลเอื้อต่อบริษัทขนาดใหญ่

นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคอนาคตใหม่คนใหม่ได้กล่าว อภิปรายในวันจันทร์ที่ผ่านมาว่า นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลได้รับการปรับให้เหมาะกับองค์กรขนาดใหญ่ด้วยคนจนต้องจ่ายเงิน ทำให้คนรวยที่เป็นชนกลุ่มน้อยที่ร่ำรวยขึ้น ในขณะที่คนจนกลับมีฐานะยากจนกว่าเดิมพร้อมแสดงความกังวลต่อ GDP (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) โดยกล่าวเสริมว่าเศรษฐกิจไทยยังไม่ถึงระดับวิกฤติ แต่สำหรับชายหรือหญิงข้างถนน เศรษฐกิจของประเทศอยู่ในสภาพวิกฤติและเลวร้ายยิ่งกว่าในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจที่ผ่านมาอ่านต่อ ...

ธปท. กังวลผลกระทบจากไวรัสอาจทำให้เศรษฐกิจไทยโตต่ำกว่า 2%

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ (13 กุมภาพันธ์) นายดอน นาครทรรพ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กล่าวว่า เศรษฐกิจไทยอาจได้รับผลกระทบอย่างหนักหากการระบาดของโรคโคโรนาไวรัส (Covid-19) สายพันธุ์ใหม่ยืดเยื้อโดยขณะนี้เศรษฐกิจกำลังได้รับผลกระทบจากความล่าช้าของ พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีและผลกระทบจากภัยแล้งอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ไวรัสโคโรนาสร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจไทย

ขณะนี้เราเห็นถึงความเสี่ยงด้านลบต่อแนวโน้มการเติบโตของประเทศไทยในปี พ.ศ.2563 เนื่องจากผลกระทบจากการระบาดของไวรัสโคโรนาในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจในวงกว้างมุมมองหลัก คือ การเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยจะฟื้นตัวเป็น 3.0% ในปีนี้ตามการขยายตัว 2.5% ในปี พ.ศ.2562 ซึ่งเป็นไปตามความคาดหวังของมาตรการทางการคลังที่สนับสนุนการปรับปรุงการบริโภคภาคครัวเรือนและการลงทุนจากต่างประเทศ และผ่อนคลายเงื่อนไขทางการเงินเพื่อกระตุ้นกิจกรรมในประเทศอ่านต่อ ...

คาดการณ์ตัวเลขจีดีพีของไทยในปีนี้ และปีที่ผ่านมาต่ำกว่าคาด

กระทรวงการคลังปรับลดประมาณการการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ในปี พ.ศ.2562 จากร้อยละ 2.8 เป็น 2.5  และคาดการณ์ในปี พ.ศ.2563 จากร้อยละ 3.3 เป็น 2.8วันพุธ (29 มกราคม) นายลวรณ แสงสนิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังเปิดเผยว่า “ ขณะนี้เศรษฐกิจในปี พ.ศ.2562 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.5 แทนที่ตัวเลขคาดการณ์เดิมที่ร้อยละ 4.1 เนื่องจากอุปสงค์จากต่างประเทศที่ลดลงส่วนใหญ่เกิดจากข้อพิพาททางการค้าระหว่างสหรัฐฯและจีน ส่งผลให้มูลค่าการส่งออกของไทยลดลงร้อยละ 2.7 ” อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ผู้เชี่ยวชาญเตือนการระบาดของโคโรนาไวรัสส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างรุนแรง

ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่าการแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัสในประเทศจีนและประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย จะเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจจีนและประเทศไทยในสัปดาห์นี้ค่าเงินหยวนของจีนอ่อนค่าลงในสัปดาห์นี้ (20 ถึง 24 มกราคม) เนื่องจากโคโรนาไวรัสยังคงแพร่กระจายอย่างต่อเนื่องในช่วงเทศกาลตรุษจีน โดยไวรัสได้ก่อให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบที่มีต่อเศรษฐกิจของจีนรวมถึงสถานการณ์ทางเศรษฐกิจโดยรวมในเอเชีย เงินบาทแข็งค่าเมื่อต้นสัปดาห์และอ่อนตัวลงสิ้นสัปดาห์ การท่องเที่ยวของไทยคาดว่าจะได้รับผลกระทบจากการระบาดของโคโรนาไวรัสในประเทศจีนและประเทศอื่น ๆ ในเอเชียอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

คณะกรรมการธนาคารกลางพร้อมรับมือกับค่าเงินบาทที่สูงขึ้น

คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ธนาคารแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ทางธนาคารแห่งประเทศไทยพร้อมที่จะใช้นโยบายที่เป็นเครื่องมือตามความเหมาะสม และติดตามปัญหาเชิงโครงสร้างซึ่งควรได้รับการแก้ไขอย่างจริงจังจากผู้เกี่ยวข้องโดยแถลงการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในวันอังคาร (7 มกราคม) ณ การประชุมธนาคารแห่งประเทศไทย และนักวิเคราะห์ที่สำนักงานใหญ่ธปท. ท่ามกลางความกังวลที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาท ซึ่งอยู่เหนือปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

การคาดการณ์เศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจไทยปี พ.ศ.2563

เศรษฐกิจไทยจะดีขึ้นเพียงเล็กน้อย หากภาคการลงทุนและการส่งออกฟื้นตัวหรืออาจเลวร้ายลงหากวิกฤตการณ์ทางการเมืองครั้งใหม่ได้ปะทุขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อภาคการลงทุนและการบริโภคนอกจากนี้หากสงครามระหว่างอิหร่านและสหรัฐอเมริกาได้อาจจะทำให้ราคาน้ำมันพุงทะลุ 20% จากระดับราคาปัจจุบัน จะทำให้เรื่องราวต่างๆ เลวร้ายลง ภาคการท่องเที่ยวในประเทศไทยและเอเชียอาจได้รับผลกระทบจากโรคปอดอักเสบชนิดใหม่ หากมีการระบาดที่รุนแรงเช่นเดียวกับโรคซาร์สเมื่อ 17 ปีที่แล้วอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ชะตากรรมของรัฐบาลแขวนอยู่บนเศรษฐกิจ

นักวิชาการกล่าวว่าเสียงปริ่มน้ำในสภาจะสร้างความกังวลต่อรัฐบาลอีกต่อไปในปีนี้ แม้ว่าจะมีความท้าทายมากมายรวมถึงปัญหาทางเศรษฐกิจที่ยืดเยื้อที่เข้าทดสอบคณะรัฐบาลรัฐบาลชุดผสมที่นำโดยพรรคพลังประชารัฐ ได้เพิ่มที่นั่งในสภาอีกสองที่จากการเลือกตั้งในจังหวัดนครปฐม และขอนแก่นทำให้มีที่นั่ง 255 คน ซึ่งเหนือกว่าที่นั่งจากฝ่ายค้าน 244 คนอ่านต่อ ...

เศรษฐกิจไทยปี’63 จะเป็นอย่างไร?

เศรษฐกิจของประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นประมาณ 2.7-3.0% ตามการคาดการณ์ของสถาบันทางเศรษฐกิจหลายแห่งการขยายตัวที่จำกัดเป็นผลมาจากผลกระทบเชิงลบจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่อ่อนแอลง หนี้ภาคครัวเรือนของไทยที่เพิ่มขึ้น และการหยุดชะงักทางเทคโนโลยี ซึ่งส่งผลให้ความต้องการแรงงานไร้ฝีมือลดลงธนาคารโลกคาดการณ์การเติบโตของประเทศไทยในปี พ.ศ.2563 ที่ 2.9% เทียบกับ 2.7% ในปีนี้ ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจและธุรกิจ (EIS) ของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) คาดการณ์การเติบโตของประเทศไทยในปี พ.ศ.2563 ที่ระดับ 2.5-3% ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์คาดการณ์ GDP ของประเทศไทยจะโต 2.7% ในปีหน้าอ่านต่อ ...

ธปท.เล็งปรับอัตราดอกเบี้ยมาตรฐานในระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์

จากการสำรวจของรอยเตอร์ระบุว่า ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) มีแนวโน้มที่จะปรับลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐานที่ระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ในวันพุธนี้ หลังจากที่ได้มีการปรับลดไปแล้วสองครั้งในปีนี้ แต่อย่างไรก็ตามยังมีโอกาสที่จะปรับลดแนวโน้มการเติบโตอีกครั้งนักเศรษฐศาสตร์ทั้ง 16 คน จากการสำรวจคาดการณ์ว่าคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ของ ธปท. จะคงอัตราดอกเบี้ยธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตรระยะเวลา 1 วันไว้ที่ 1.25% ซึ่งต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ ซึ่งครั้งล่าสุดคือช่วงวิกฤตการเงินโลกอ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

2DcwB
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!