ข่าว

สารเคมีเกษตรอันตรายจะยังคงได้รับอนุญาตเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี

สารพาราคว็อท ไกลโฟเสต และคลอร์ไพริฟอส ยังคงได้รับอนุญาตให้ใช้ในประเทศไทยเป็นเวลาอย่างน้อยอีกสองปี หลังจากที่เมื่อวานนี้คณะกรรมการวัตถุอันตรายยืนยันการตัดสินใจก่อนหน้านี้ที่จะไม่ห้ามใช้สารเคมีเกษตรทั้งสามถึงแม้จะมีการเรียกร้องจากกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและองค์กรอื่น ๆ อีกมากมายที่กดดันคณะกรรมการวัตถุอันตรายในการสั่งห้ามสารพิษร้ายแรงสามชนิด ก่อนสิ้นปีนี้อ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

คณะกรรมการอาจเรียกร้องให้ชะลอการห้ามสารเคมีเกษตร

นายอภิจิน โชติกเสถียร รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า คณะกรรมการวัตถุอันตรายอาจล้มเหลวในการตัดสินใจในการสั่งห้ามใช้สารพาราควอต ไกลโฟเซต และคลอร์ไพริฟอสอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

สารพิษในประเทศไทย

นายแพทย์ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา ได้ลาออกจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พร้อมนักวิชาการอีก 2 คน จากคณะทำงานที่มีหน้าที่ควบคุมสารเคมีที่เป็นพิษในฟาร์ม ซึ่งเผยให้เห็นภัยร้ายของประเทศในการต่อสู้กับรพาราควอต และสารเคมีอันตรายอื่น ๆ อีกสองชนิด คือ คลอร์ไพริฟอส และไกลโฟเซตอ่านต่อ ...

เกษตรกรกังวลต่อกฎควบคุมสารเคมีทางการเกษตร

กลุ่มเกษตรกรแสดงความกังวลว่ามาตรการควบคุมสารเคมีทางการเกษตรในกฎใหม่ของกระทรวงที่ทำให้พวกเขาราวกับเป็นอาชญากร เนื่องจากการห้ามฉีดพ่นสารเคมีกำจัดวัชพืชในไร่ของตน หากไม่มีการฝึกอบรมที่เหมาะสมเมื่อวานนี้ (25 ต.ค) พวกเขาได้แสดงความวิตกกังวลในที่ประชุมสาธารณะ ซึ่งจัดโดยกรมส่งเสริมการเกษตรเกี่ยวกับร่างข้อบังคับของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ที่บังคับใช้การควบคุมอันเข้มงวดมากขึ้นในการใช้สารพาราควอเตอร์ คลอโรพริฟอส และ ไกลโพเซตอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

พิษสารเคมีในฟาร์มส่งผลเสียต่อชีวิต

ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในฟาร์มอย่างแพร่หลายมีผลทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1,715 รายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา “ผู้คนเกือบ 600 คนต่อปี ที่ต้องเสียชีวิตโดยตรงจากการใช้ยาฆ่าแมลง สารเคมีกำจัดวัชพืช สารฆ่าเชื้อรา และสารกำจัดศัตรูพืช” เมื่อไม่นานมานี้ นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้อ้างถึงรายงานสถิติจากโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยเขายืนยันว่าตัวเลขดังกล่าวได้รับการรวบรวมด้วยหลักฐานที่ชัดเจนอ่านต่อ ...

จุฬารัตน์ แสงปัสสา

คณะกรรมการวัตถุอันตรายแก้ไขการห้ามใช้สารเคมีในเกษตร

เมื่อวันพฤหัสบดี (30 ส.ค) ที่ผ่านมา คณะกรรมการวัตถุอันตรายของรัฐบาล (HSC) ได้แก้ไขการพิจารณาการห้ามใช้สารเคมีหลัก 3 ชนิดในการเพาะปลูกผัก และสมุนไพร ได้แก่ สาร paraquat chlorpyrifos และ glyphosate โดยจะถูกจำกัดเพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งยังสามารถนำมาใช้ในพืชเศรษฐกิจ 6 ชนิด ได้แก่ ข้าวโพดมันสำปะหลัง อ้อย ยาง ปาล์มน้ำมัน และผลไม้อ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

สารเคมีในการเกษตรเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน

นักวิชาการกระตุ้นให้รัฐบาลจัดลำดับความสำคัญในการป้องกันสุขภาพของผู้คนจากภัยคุกคามของการปนเปื้อนสารเคมีและสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีให้สอดคล้องกับคำมั่นสัญญาของประเทศที่จะบรรลุเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)อ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

แพทย์ยืนยันสารพาราคว็อทปลอดภัย

ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์กล่าวว่า สารพาราคว็อท (Paraquat) ปลอดภัยเพียงพอสำหรับการใช้ในการเกษตร ซึ่งไม่ควรถูกสั่ั่งห้ามหากได้รับการจัดการอย่างเหมาะสมและนำมาใช้ในการจำกัดศัตรูพืชเมื่อวานนี้ (24 เมษายน) คณะแพทย์ได้กล่าวในงานแถลงข่าวจัดโดยมูลนิธิวิทยาศาสตร์การเกษตรว่า สารพาราคว็อทที่เป็นสารกำจัดวัชพืชที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศไทยนั้นไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เว้นเสียแต่ว่าดื่มหรืออาบโดยตรง และควรได้รับอนุญาตให้ใช้ในการเกษตรอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

bhtC7
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!