ข่าว

การเลิกเรียนกลางคัน เนื่องจากเงินอุดหนุนที่ล่าช้า

รัฐบาลจำเป็นต้องแก้ไขนโยบายเรียนฟรี เพื่อปรับปรุงการเข้าถึงการศึกษาและคุณภาพของการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลังจากการเพิ่มขึ้นของจำนวนนักเรียนที่เลิกเรียนกลางคันเนื่องจากความยากจนรศ.ดร.ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวในเวทีที่จัดโดยกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาว่า การใช้จ่ายของภาครัฐในด้านการศึกษาไม่เพียงพอ แม้ว่างบประมาณการศึกษาสำหรับปีงบประมาณ พ.ศ.2564 จะมีมูลค่าถึง 76 หมื่นล้านบาทอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

กสศ.เปิดตัวซอฟต์แวร์เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

เมื่อวันพุธที่ผ่านมา กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้เปิดตัวซอฟต์แวร์ระบบการจัดการการศึกษา เพื่อความเท่าเทียมรุ่นใหม่โดยมีวัตถุประสงค์ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านศึกษาของนักเรียนในประเทศไทยดร.ไกรยส ภัทราวาท รองผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่าซอฟต์แวร์ที่มีชื่อว่า iSEE 2.0 จะถูกใช้โดยรัฐบาลในการกำหนดนโยบายระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ และแก้ไขปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน ดังนั้นจึงไม่มีเด็กถูกทิ้งไว้เบื้องหลังอ่านต่อ ...

ดำรงเกียรติ มาลา

กองทุน กสศ.อนุมัติเงิน 2 พันล้านบาทเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่ยากจน

ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล ประธานคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ทางกสศ. ได้จัดสรรงบประมาณจำนวน 2.04- พันล้านบาทเพื่อลดภาระของนักเรียนที่ยากจน ซึ่งผู้ปกครองได้รับผลกระทบทางการเงินจากวิกฤติโควิด -19 โดยเงินจะถูกนำไปใช้เป็นมาตรการเยียวยา โดยมีนักเรียน 750,000 คน -แบ่งเป็น 700,000 คนในระบบการศึกษา และอีก 50,000 คนที่อยู่นอกระบบที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

การช่วยเหลือนักเรียนยากจนเพื่อประโยชน์ทางการเมือง?

สัปดาห์ที่ผ่านมา สำนักข่าวท้องถิ่นของประเทศไทยเปิดเผยว่านักเรียนที่มีฐานะยากจนกว่า 600,000 คน จะได้รับเงินเพิ่มเติมประมาณ 24 เหรียญสหรัฐต่อภาคการศึกษาจากรัฐบาล ในกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ตามแผนร่วมกันของกสศ. และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยเงินสนับสนุนพิเศษจะถูกแจกในเดือนหน้าเป็นต้นไปอ่านต่อ ...

Sheith Khidhir

นักเรียนยากจนจะได้รับความช่วยเหลือทางการเงินเพิ่มเติม

นักเรียนที่ยากจนประมาณ 600,000 คน จะได้รับเงินเพิ่ม 800 บาทต่อภาคการศึกษาจากรัฐ ในขณะที่กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กำลังก้าวเข้ามาช่วยลดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

การจัดสรรงบประมาณที่เสมอภาคคือทางแก้ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางการศึกษา

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้แนะนำแนวทางการจัดสรรงบประมาณใหม่ สำหรับภาคการศึกษาของประเทศ หลังจากการวิจัยยืนยันว่าความไม่เท่าเทียมกันได้ “เพิ่มขึ้น” แม้ว่าจะมีการลงทุนทางการศึกษาจำนวนมากก็ตามอ่านต่อ ...

จุฬารัตน์ แสงปัสสา

การให้ความช่วยเหลือเด็กยากจนด้วยเงินจำนวน 10 บาท โดยชาวเชียงใหม่

กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.)กำลังสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับการหาวิธีการที่ดีที่สุดในการดึงดูดทุกภาคส่วนในการขยายความช่วยเหลือด้านการศึกษาแก่เด็กที่ด้อยโอกาสเมื่อวันพุธ (15 ส.ค.) ที่ผ่านมา นายไพรัช ใหม่ชมภู รองนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่เสนอโมเดลกองทุน 10 บาท เชียงใหม่ โดยก่อตั้งขึ้นในปีพ.ศ. 2560 กองทุนนี้เริ่มต้นด้วยการบริจาคเงินจำนวน 10 บาท จากชาวเชียงใหม่ทุกคน เพื่อป้องกันเด็กที่ติดกับดักทางการเงินจนต้องหลุดออกจากโรงเรียนอ่านต่อ ...

จุฬารัตน์ แสงปัสสา

กองทุนโดยเน้นไปที่ 'นักเรียนที่ยากจนมาก'

เมื่อวานนี้ (8 ส.ค.) นาย Kraiyos Patrawat ผู้จัดการโครงการ Equitable Education Fund (EEF) มีความพยายามเพิ่มความช่วยเหลือทางการเงินให้กับนักเรียนกว่า 600,000 คนที่จัดอยู่ในกลุ่ม “คนยากจน” หรือมีเงินโดยเฉลี่ยเพียง 42.7 บาทต่อวันในกระเป๋า “เราหวังว่าการเพิ่มขึ้นนี้จะมีผลบังคับใช้ในเดือนหน้า” อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

RSV95
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!