ข่าว

เหล่าผู้ใช้แรงงานกำลังกังวลกับเศรษฐกิจในปีนี้

ผู้เชี่ยวชาญและผู้นำแรงงาน กล่าวว่า ในปีนี้อัตราค่าจ้างขั้นต่ำอาจไม่เพิ่มขึ้นไปมากกว่านี้ เนื่องจากการชะลอตัวทางเศรษฐกิจที่ยืดเยื้อซึ่งจะส่งผลกระทบอย่างหนัก“การเก็บออมรายได้เพื่อชำระหนี้ และ การทำงานล่วงเวลาที่กำลังหยุดลง” เป็นคำแนะนำที่สรุปแนวโน้มสำหรับแรงงานในปีนี้อ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

การปรับขึ้นค่าแรงเป็นเพียงการบรรเทาเล็กน้อย

การปรับขึ้นอัตราค่าจ้างขั้นต่ำรายวันเพียงไม่กี่บาท โดยขึ้นอยู่กับสถานที่จะมีผลบังคับใช้ในวันพุธที่จะถึงนี้ (1 มกราคา 2563) เปรียบเหมือนการมอบของขวัญปีใหม่ให้กับผู้ใช้แรงงานโดยโครงสร้างใหม่ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันศุกร์ที่ผ่านมา ได้กำหนดค่าแรงขั้นต่ำรายวันจะสูงถึง 313-346 บาท จากอัตราปัจจุบัน 308-330 บาทซึ่งเริ่มนำไปใช้กับ 10 กลุ่มจังหวัดอ่านต่อ ...

บรรณาธิการ

SMEs จุก หลังขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ

สภาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมไทย (สภาเอสเอ็มอี) เผยบริษัทขนาดเล็กอาจชะลอการลงทุนและการสรรหาบุคลากรในปีหน้า เนื่องจากการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 5-6 บาทต่อวันเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา ซึ่งคณะกรรมการค่าจ้างแห่งชาติตกลงที่จะขึ้นค่าแรงขั้นต่ำรายวันจาก 308-330 บาท เป็น 313-336 บาท โดยคณะผู้พิจารณาจะเสนอเรื่องเข้าสู่คณะรัฐมนตรี เพื่อให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมนี้อ่านต่อ ...

ลมลเพ็ชร อภิสิทธิ์นิรันดร์

ม.รังสิตเผยการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ จะไม่ส่งผลกระทบต่อธุรกิจ

ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัย เศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป สถาบันเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า การเพิ่มขึ้นของค่าแรงขั้นต่ำระหว่าง 5 บาทถึง 6 บาทจะไม่เป็นการเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายสำหรับผู้ประกอบการหรือเพิ่มอัตราเงินเฟ้อโดย ดร.อนุสรณ์ กล่าวเสริมว่า “การขึ้นค่าแรงจะไม่ส่งผลกระทบต่อกำลังซื้อในระบบเศรษฐกิจ” และ “อย่างไรก็ตามรัฐบาลควรส่งเสริมมาตรการ เพื่อช่วยเหลือ บริษัทขนาดเล็กที่อาจได้รับผลกระทบจากภาระค่าจ้างที่สูงขึ้น  นอกจากนี้ควรมีโครงสร้างเงินเดือนที่กำหนดไว้สำหรับบริษัทที่มีพนักงานมากกว่า 50 คน เพื่อเป็นหลักประกันค่าจ้าง”อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศ

ในวันศุกร์ที่ผ่านมา คณะกรรมการค่าจ้างมีมติเห็นชอบในการปรับค่าแรงขั้นต่ำรายวันเพิ่ม 5-6 บาทจาก 308-330 บาทเป็น 313-336 บาท โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2563 และจะเร่งนำมตินี้เสนอให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบเพื่อใช้ได้ทันตามกำหนด โดยแรงงานไร้ฝีมือตามต่างจังหวัดส่วนใหญ่จะได้รับเงิน 315-320 บาทต่อวันอ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

กระทรวงแรงงานย้ำการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำจะเพิ่มอย่างค่อยเป็นค่อยไป

ในวันพุธนี้ หม่อมราชวงศ์จัตุมงคล โสณกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน กล่าวว่า การขึ้นค่าแรงขั้นต่ำจะเพิ่มขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่ออุตสาหกรรมสามารถปรับตัวได้ม.ร.ว.จัตุมงคล กล่าวว่า เขาจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาทักษะแรงงาน โดยเขาตั้งเป้าผลิตแรงงานไทยที่มีทักษะสูงภายใน 20-30 ปีอ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

บริษัทผลักดันการขึ้นค่าแรงรายวัน

ผู้ประกอบการกำลังเรียกร้องให้รัฐบาลชุดใหม่เพิ่มค่าแรงขั้นต่ำรายวันของประเทศให้สอดคล้องกับมติของคณะกรรมการไตรภาคีและหลีกเลี่ยงการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตามสัญญาที่ให้ไว้ในช่วงระหว่างการรณรงค์เลือกตั้งทั่วไปในปี 2562 คณะกรรมการไตรภาคีซึ่งเป็นตัวแทนจากนายจ้าง ลูกจ้างและรัฐบาลได้ตกลงที่จะเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำรายวัน 2-10 บาท เป็น 308-330 บาท โดยอัตราการเพิ่มจะขึ้นอยู่กับจังหวัดและที่ตั้งอ่านต่อ ...

ลมลเพ็ชร อภิสิทธิ์นิรันดร์

ข้อเสนอเพิ่มค่าจ้างรายวันฉบับใหม่รอการศึกษาเพิ่มเติม

การพิจารณาเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำรายวันถูกเลื่อนออกไป โดยคณะกรรมการไตรภาคี กล่าวว่าต้องการข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อวันพุธที่ผ่านมา  นายจรินทร์ จักกะพาก ปลัดกระทรวงแรงงาน กล่าวว่าคณะอนุกรรมการระดับจังหวัดได้เสนอให้เพิ่มขึ้น 2 ถึง 10 บาทในปีนี้ ตามแต่ละจังหวัดอ่านต่อ ...

เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

U4YpP
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!