เพศ
ผู้หญิง
การปิดช่องว่างระหว่างเพศในที่ทำงาน
เรื่องเพศในที่ทำงานยังคงเป็นประเด็นร้อนในประเทศไทยไม่น้อยเพราะตำแหน่งผู้บริหารหญิงระดับสูงมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้เกิดการทะลายกำแพง ซึ่งจำกัดโอกาสที่ผู้หญิงจะได้รับการเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้น และก่อให้เกิดช่องว่างค่าแรงระหว่างเพศ ยิ่งไปกว่านั้นการปรากฏตัวของผู้หญิงในภาคการป้องกันและความมั่นคงของประเทศนั้นค่อนข้างต่ำอ่านต่อ ...
การแก้ไขกฎหมายการทำแท้งมีผลบังคับใช้แล้ว
ราชกิจจานุเบกษาได้ประกาศแก้ไขประมวลกฎหมายอาญามาตรา 301 และ 305 เพื่อแก้ไขในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทำแท้ง ในหญิงที่มีอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์สามารถยุติการตั้งครรภ์ได้โดยมีเงื่อนไขกฎหมายฉบับแก้ไขระบุว่ามาตรา 301 ผู้หญิงที่ทำแท้งทารกในครรภ์ที่มีอายุมากกว่า 12 สัปดาห์ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนและ / หรือปรับ 10,000 บาทอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
‘ศรีสุวรรณ’ร้องผู้ตรวจการแผ่นดินค้าน กม.อนุญาตทำแท้ง
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา นายศรีสุวรรณ จรรยา นักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม และเลขาธิการสมาคมองค์การพิทักษ์รัฐธรรมนูญไทยยื่นคำร้องถึงพ.ต.ท.กีรป กฤตธีรานนท์ เลขาธิการสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างกฎหมายว่าด้วยการทำแท้งในหญิงอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ถูกต้องตามกฎหมายนั้นชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
รัฐสภาฯผ่านร่างกฎหมายทำแท้งฉบับใหม่
ในวันพุธ (20 ม.ค. ) รัฐสภาไทยผ่านร่างกฎหมายใหม่ว่าด้วยอนุญาตให้ทำแท้งได้ถึงช่วงสัปดาห์ที่ 12 ของการตั้งครรภ์แต่ร่างกฎหมายดังกล่าวไม่ได้ระบุโทษการทำแท้ง เนื่องจากการทำแท้งหลังการตั้งครรภ์สัปดาห์ที่ 12 ยังคงมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับแม้ว่าจะมีข้อเรียกร้องจากภาคประชาสังคมให้ยกเลิกมาตรา 301 เพื่อไม่ให้การทำแท้งเป็นความผิดทางอาญาอีกต่อไปอ่านต่อ ...
การต่อสู้เพื่อสิทธิสตรีในอาเซียน
ผู้หญิงที่มีชื่อเสียงในอาเซียน เช่น นางฮาลิมาห์ ยาคอบ ประธานาธิบดีหญิงของสิงคโปร์ และ โฮย หลิง ตัน ผู้ร่วมก่อตั้งบริการยานพาหนะผ่านทางแอพพลิเคชั่น (Ride-hailing service) อย่าง Grab โดย Nicol David ได้พาดหัวข่าวถึงความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของสตรีเหล่านี้ในภูมิภาค ซึ่งทุกวันนี้มีจำนวนผู้หญิงได้มีส่วนร่วมเพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมเทคโนโลยีที่ผู้ชายเป็นใหญ่ เช่น การเมือง และกีฬา รวมถึงสาขาอื่น ๆ อย่างไรก็ตามภูมิภาคยังคงมีหนทางอันยาวไกลในแง่ของการเห็นคุณค่าของผู้หญิง มูลค่าการมีส่วนร่วมของสตรี และปฏิบัติต่อผู้หญิงอย่างเท่าเทียมกันอ่านต่อ ...
กระแสตลาดดิจิตอลโดยผู้หญิง
ตามรายงานของ Global Gap Report ปี 2020 โดย World Economic Forum (WEF) ระบุว่าภูมิภาคเอเชียตะวันออกและแปซิฟิกต้องใช้เวลามากถึง 163 ปี ในการเข้าถึงความเท่าเทียมทางเพศในอัตราจากปัจจุบัน ซึ่งนับเป็นเวลาโดยประมาณที่ยาวนานที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นรวมถึงตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ (140 ปี) และเอเชียใต้ (71.5 ปี)อ่านต่อ ...
Jillian Louis
#MeToo ในอาเซียนยังไม่เพียงพอ
เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว นายฮาร์วีย์ ไวน์สไตน์ เจ้าพ่อฮอลลีวู้ดฃถูกตัดสินว่ามีความผิดฐานข่มขืนรวมถึงการข่มขืน โดยมีผู้หญิงอย่างน้อย 80 คนกล่าวหาว่าเขาประพฤติตัวไม่เหมาะสมทางเพศซึ่งยืดเยื้อมานานหลายทศวรรษรวมถึงดาราฮอลลีวู้ดอย่าง กวินเน็ธ พัลโทรว์ และซัลมา ฆาเยก รายงานจากคำตัดสินของศาลบอกว่า ไวน์สไตน์ประสบอาการเจ็บหน้าอก และถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลทันที ในไม่ช้าเขาจะถูกส่งไปยังเรือนจำเมืองนิวยอร์ก บนเกาะไรเกอร์ส (Rikers) เพื่อรอการพิจารณาคดีในวันที่ 11 มีนาคมอ่านต่อ ...
Jillian Louis
ผู้หญิงยังคง 'ด้อย' ในแวดวงการเมือง
หญิงสาวในแวดวงการเมืองยังคงถูกดูหมิ่นว่าขาดประสบการณ์ ในขณะที่ความสามารถในการแสดงบทบาทมักถูกตั้งคำถาม คือหนึ่งในประเด็นสำคัญภายในงานสัมมนาที่จัดขึ้นโดยสมาคมนักข่าวไทยดร.รัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกล่าวในงานอภิปรายว่าทางรัฐสภาได้แต่งตั้งคณะทำงาน เพื่อดำเนินการในประเด็นด้านการส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศอ่านต่อ ...
เพ็ญจันทร์ เจริญสุทธิพันธ์
สตรีและบทบาทต่อการเมืองไทย
เมื่อพิจารณาถึงบทบาทของผู้หญิงในการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย นอกเหนือจากการเป็นผู้นำ ยังมีสองสิ่งที่ต้องนึกถึงในการเผชิญหน้ากับตำรวจหรือทหาร ผู้หญิงในชุมชนที่ได้รับผลกระทบมักยืนอยู่แถวหน้า โดยบรรดาผู้หญิงเหล่านั้นถูกมองว่าเปราะบาง ความหวังก็คือเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะไม่ทำร้ายพวกเขา นี่คือความเชื่อที่ว่าผู้หญิงเป็นเพศที่อ่อนแอกว่า ดังนั้นพวกเขาจึงต้องเผชิญกับสถานการณ์เหล่านี้ไม่ใช่เพราะพวกเขาแข็งแกร่งขึ้นอ่านต่อ ...
ฟอรั่มสะท้อนถึงชะตากรรมของแรงงานข้ามชาติ
ภายในงานฟอรั่มที่จัดขึ้นเมื่อวันอาทิตย์ที่ผ่านมาได้เผยถึงแรงงานหญิงในประเทศไทยมีความเสี่ยงต่อการถูกทารุณกรรมและถูกเอารัดเอาเปรียบ และมักจะจบลงด้วยการทำงานหนักเป็นเวลานานในภาคที่ยากที่สุด อีกทั้งยังได้รับค่าจ้างต่ำกว่ามาตรฐานPatima Tungouchakul ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายคุ้มครองแรงงาน กล่าวในการประชุมที่จัดขึ้นโดย องค์การเพื่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศและเสริมพลังของผู้หญิงแห่งสหประชาชาติ หรือ UN Women เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับสิทธิของแรงงานหญิงอพยพ ในประเทศไทยมักจะได้รับเงินน้อยกว่าผู้ชายที่ทำงานในลักษณะเดียวกันอ่านต่อ ...
ดำรงเกียรติ มาลา