เพศ

สุขภาพของประชาชน

เริ่มให้บริการยา PrEP ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนสัมผัส

สภากาชาดแห่งประเทศไทยได้จัดสัมมนาติดตามผลการให้บริการยา PrEP ป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีก่อนสัมผัส โดยเสนอให้กับคนในกลุ่มเสี่ยง เพื่อช่วยป้องกันการติดเชื้อ ซึ่งตัวยาจะสะสมในร่างกายในระหว่างวันหลังรับประทานยา และสามารถช่วยทำลายเชื้อไวรัสเอชไอวีที่เข้าสู่ร่างกายได้เกือบ 100% อีกทั้งกรมควบคุมโรคได้แนะนำให้ผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงใช้ PrEP เพื่อช่วยป้องกันการติดเชื้อใหม่อ่านต่อ ...

Adam Judd

ทำไมคนไทยถึงเป็นกังวลด้านการดูแลสุขภาพ

เมื่อต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา The ASEAN Post ได้ตีพิมพ์บทความเกี่ยวกับงบประมาณปี 2563 ของประเทศไทย โดยบทความดังกล่าวได้ศึกษาโดยศูนย์วิจัย Super Poll Research ที่สัมภาษณ์ประชาชนจำนวน 1,069 คน จากหลากหลายอาชีพทั่วประเทศ ในระหว่างวันที่ 15 และ 19 ตุลาคม ซึ่งในบรรดาคำถามที่ถามว่าผู้ตอบแบบสอบถามเหล่านี้ต้องการให้รัฐบาลใช้จ่ายเงินอย่างไร และผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ 65.9% ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพที่มีคุณภาพอ่านต่อ ...

Sheith Khidhir

ด่วน! เลือดเหลือน้อย ศูนย์บริการโลหิต สภากาชาด วอนประชาชนบริจาคโลหิต

เมื่อวันพุธที่ผ่านมา ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ได้ออกมาเรียกร้องให้ประชาชนบริจาคโลหิตผ่านสื่อต่าง ๆ  เนื่องจากปริมาณเลือดสำรองในคลังเหลือน้อย และไม่เพียงพอต่อความต้องการอ่านต่อ ...

แนวทางจัดการโรคมาลาเรีย

คุณรู้จักสัตว์ที่อันตรายที่สุดในโลกไหม? มนุษย์ ? งู แมงมุม หรือแม้แต่นักล่าที่มีขนาดใหญ่ คำตอบเหล่านั้นต่างไม่ใกล้เคียงเพราะมันคือยุง และโรคทั้งหมดที่เกิดจากยุงเป็นพาหะดูเหมือนว่ามาลาเรียอาจเป็นฆาตกรที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติในปี พ.ศ.2558 เพียงปีเดียวมีผู้เสียชีวิตจากโรคมาลาเรียทั่วโลกรวมกันถึง 438,000 คน ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้ระบุว่าในทุกสองนาทีจะมีเด็กที่เสียชีวิตด้วยโรคมาลาเรีย และในแต่ละปีมีรายงานผู้ป่วยโรคนี้มากกว่า 200 ล้านรายทั่วโลกอ่านต่อ ...

สปสช.เล็งเป็น ‘เคลียริงเฮาส์’ เบิกจ่ายค่ารักษากองทุนสุขภาพภาครัฐทั่วประเทศ

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คาดว่ากองทุนสุขภาพภาครัฐกว่า 13 กองทุนจะเข้าร่วมในการจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายค่าบริการและดูแลระบบข้อมูลสาธารณสุข (เคลียริงเฮาส์) ในเร็ววันนี้ เพื่อให้สามารถใช้ฐานข้อมูลในการกำหนดยุทธศาสตร์ด้นโยบายที่ดีในอนาคตโดยน.พ.การุณย์ คุณติรานนท์ รองเลขาธิการ สปสช. เปิดเผยว่า ในปัจจุบันประเทศไทยมีกองทุนสุขภาพภาครัฐจำนวน 128 แห่ง และ 115 แห่งจากจำนวนดังกล่าวได้มีการเข้าร่วมในระบบเคลียริงเฮาส์แล้วอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประสบความสำเร็จในการประกันสุขภาพที่ครอบคลุมทุกคน

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2545 โดยได้รับคำสั่งจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2556 ในการจัดการค่าใช้จ่ายทางการแพทย์จากกองทุนหลักประกันสุขภาพผ่านหน่วยงานกลางในการจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายค่าบริการและดูแลระบบข้อมูลสาธารณสุข รวมถึงทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้เป็นฐานข้อมูลระดับชาติในการจัดการสวัสดิการด้านการแพทย์อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

สปสช. เพิ่ม 24 โรคหายากลงในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

ในวันพฤหัสบดีทีผ่านมา คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ตกลงที่จะรวม 24 โรคหายากแต่รุนแรง ลงในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยคณะกรรมการยังได้จัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมจำนวน 12.85 ล้านบาท เพื่อเป็นทุนสนับสนุนการรักษาโรคเหล่านี้อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ดินแดนแห่งน้ำตาของวัยรุ่น - แก้ปัญหาภาวะซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายของเยาวชนในประเทศไทย

ประเทศไทยมีอัตราการฆ่าตัวตายสูงสุดในภูมิภาคอาเซียนจากการศึกษาล่าสุดขององค์การอนามัยโลก โดยองค์การอนามัยโลกจัดอันดับให้ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 32 ของโลกในรายงานอัตราการฆ่าตัวตายประจำปีที่มีการเผยแพร่เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา โดยในรายงานระบุว่ามีผู้เสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายราว 10,000 คนต่อปีสูงกว่าประเทศในกลุ่มอาเซียนอื่น ๆอ่านต่อ ...

ประยุทธ์ประกาศความสำเร็จของการดูแลสุขภาพถ้วนหน้าของไทยต่อยูเอ็น

พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวกับ องค์การสหประชาชาติในเช้าวันจันทร์ (เวลานิวยอร์ก) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จของประเทศไทยในการให้บริการด้านสาธารณสุขตามนโยบายการดูแลสุขภาพถ้วนหน้าอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ภาวะซึมเศร้า และความผิดปกติของการเสพติดไซเบอร์

ในปัจจุบันหากกล่าวถึงภาวะซึมเศร้ารวมถึงการติดอินเทอร์เน็ตและความผิดปกติที่เกี่ยวข้อง โดยเริ่มกันที่โรคซึมเศร้าเป็นความเจ็บป่วยทางคลินิกหลัก ซึ่งไม่รวมถึงความโศกเศร้า และภาวะที่ไม่มีความสุขในระยะสั้นอาการซึมเศร้าจะถูกกำหนดโดยการวินิจฉัยทางคลินิก ดังนั้นผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจึงไม่มีสาเหตุของการเจ็บป่วยที่ชัดเจน แต่ยังคงทุกข์ทรมานกับผลกระทบต่อวิถีชีวิตหรือการทำงาน โดยอาจเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

nYSBZ
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!