สุขภาพของประชาชน
ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาภาคสาธารณสุข
ต่อสู้กับโรคมะเร็งด้วยข้อมูล
มะเร็งยังคงเป็นหนึ่งในปัญหาที่ใหญ่ที่สุดของโลกโดยมีผู้ป่วยโรคมะเร็งประมาณ 18 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตราว 9.6 ล้านคนในปี พ.ศ.2562 (เชิงอรรถ 1)โดยปัจจัยร่วมของตัวเลขเหล่านี้ คือประชากรโลกที่มีการเติบโตและสูงวัย รวมถึงความชุกของการเปลี่ยนแปลงสาเหตุของโรคมะเร็งที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจทั่วโลกอ่านต่อ ...
Santhosh Viswanathan
สปสช.เล็งเป็น ‘เคลียริงเฮาส์’ เบิกจ่ายค่ารักษากองทุนสุขภาพภาครัฐทั่วประเทศ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) คาดว่ากองทุนสุขภาพภาครัฐกว่า 13 กองทุนจะเข้าร่วมในการจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายค่าบริการและดูแลระบบข้อมูลสาธารณสุข (เคลียริงเฮาส์) ในเร็ววันนี้ เพื่อให้สามารถใช้ฐานข้อมูลในการกำหนดยุทธศาสตร์ด้นโยบายที่ดีในอนาคตโดยน.พ.การุณย์ คุณติรานนท์ รองเลขาธิการ สปสช. เปิดเผยว่า ในปัจจุบันประเทศไทยมีกองทุนสุขภาพภาครัฐจำนวน 128 แห่ง และ 115 แห่งจากจำนวนดังกล่าวได้มีการเข้าร่วมในระบบเคลียริงเฮาส์แล้วอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติประสบความสำเร็จในการประกันสุขภาพที่ครอบคลุมทุกคน
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.2545 โดยได้รับคำสั่งจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2556 ในการจัดการค่าใช้จ่ายทางการแพทย์จากกองทุนหลักประกันสุขภาพผ่านหน่วยงานกลางในการจัดการธุรกรรมการเบิกจ่ายค่าบริการและดูแลระบบข้อมูลสาธารณสุข รวมถึงทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อจัดตั้งศูนย์ข้อมูลสุขภาพแห่งชาติ โดยใช้เป็นฐานข้อมูลระดับชาติในการจัดการสวัสดิการด้านการแพทย์อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ประเทศไทยเตรียมพร้อมที่จะแข่งขันในการวิจัยจีโนม และการแพทย์
ประเทศไทยได้เล็งเห็นถึงการเป็นผู้นำด้านจีโนมทางการแพทย์ของอาเซียนภายในห้าปี นายแพทย์ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่า “เราได้ใช้งบประมาณ 4,770 ล้านบาทสำหรับแผนจีโนมแบบบูรณาการในระยะเวลาห้าปี” จีโนมิกส์เป็นสหวิทยาการของสาขาวิชาชีววิทยาโดยมุ่งเน้นไปที่โครงสร้าง หน้าที่ วิวัฒนาการ การสร้างแผนที่ และการแก้ไขจีโนมอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
เงินทุนสนับสนุนผลักดันหลักประกันสุขภาพ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)จะได้รับเงินช่วยเหลือจำนวนกว่า 2 แสนล้านบาทในปีงบประมาณ 2563 ซึ่งมากกว่าปีงบประมาณ 2562 อยู่ 5 พันล้านบาทนพ. ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา เลขาธิการ สปสช. กล่าวว่า เมื่อวานนี้คณะรัฐมนตรีอนุมัติงบประมาณ 191 ล้านบาท สำหรับการเพิ่มเงินอุดหนุนต่อหัวเป็น 3,600 บาท แก่สมาชิกโครงการการดูแลสุขภาพถ้วนหน้า “บัตรทอง” จำนวนกว่า 48.26 ล้านคนอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
เทคโนโลยี AI และข้อมูลขนาดใหญ่จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพจัดการด้านสุขภาพ เพื่อลดอัตราการติดเชื้อ HIV ของไทย
การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และข้อมูลขนาดใหญ่ได้เสนอโอกาสใหม่สำหรับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันมีศักยภาพมหาศาลที่จะสนับสนุน ‘ประเทศไทย 4.0’ ซึ่งเป็นโมเดลใหม่ในทางเศรษฐกิจตามมูลค่าที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ที่คาดว่าจะปลดล็อคประเทศจากความท้าทายทางเศรษฐกิจที่เกิดจากโมเดลการพัฒนาทางเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ (การเกษตร – ประเทศไทย 1.0 อุตสาหกรรมเบา – ประเทศไทย 2.0 และอุตสาหกรรมหนัก – ประเทศไทย 3.0) ‘กับดักรายได้ปานกลาง’ และ ‘กับดักความเหลือมล้ำ’อ่านต่อ ...
โครงการ AI ตรวจเบาหวานจากภาพสแกนม่านตาในประเทศไทย
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา (13 ธ.ค.) กูเกิลเปิดตัวโครงการปัญญาประดิษฐ์ในประเทศไทย เพื่อทำนายเบาหวานได้จากภาพดวงตา ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิดการตาบอดถาวรโครงการตรวจเบาหวานจากภาพสแกนม่านตาในประเทศไทยเป็นไปตามโครงการของ Google ที่มีการวิจัยทั้งในไทย และอินเดียดโดยเน้นการผลักดันโดย บริษัท ด้านเทคโนโลยีขนาดใหญ่เพื่อแสดงถึงประโยชน์ทางสังคมของเทคโนโลยี AI ใหม่อ่านต่อ ...
สถาบันการแพทย์ลาวร่วมมือกับมหาวิทยาลัยไทยในการต่อสู้กับโรคมะเร็งท่อน้ำดี
โครงการใหม่กำลังดำเนินการภายใต้สถาบันสุขภาพ และเวชศาสตร์เขตร้อน เพื่อปรับปรุงการรักษา และลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งท่อน้ำดีในประเทศลาว โครงการ “การต่อสู้กับมะเร็งท่อน้ำดีในลาว” มีวัตถุประสงค์ เพื่อการรักษาที่ดีขึ้น ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งท่อน้ำดี และเสริมสร้างขีดความสามารถในการจัดการโรค โดยต้นทุนรวมของโครงการนี้ในระยะเวลาสามปี คือ 127,000 เหรียญสหรัฐฯอ่านต่อ ...
การวิจัยค้นคว้าเกี่ยวกับโรคมะเร็ง
ทีมวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเข้าสู่ก้าวแรกในการพัฒนายาชีวเคมีในราคาที่ไม่แพง แต่ต้องการเงินทุนอีก 1,330 ล้านบาท เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนที่เหลือของการศึกษา ศูนย์ความเป็นเลิศด้านภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกาศในงานแถลงข่าวเมื่อวานนี้ (24 ต.ค.) ว่าทีมงานของจุฬาฯ มีความคืบหน้าในการวิจัยเพื่อพัฒนาการรักษาโรคมะเร็งด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดอ่านต่อ ...
ปรัชญ์ รุจิวนารมย์
จุฬาลงกรณ์เชิญชวนบริจาคเงินให้กับกองทุนภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็ง
คนไทยได้รับการเชิญชวนให้บริจาคเงินให้กับงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการพัฒนายา “Biologics” เพื่อเพิ่มระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ในการต่อสู้กับโรคมะเร็งกองทุนภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็งมีความหวังในการให้การสนับสนุนโครงการวิจัย และพัฒนาโดย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อลดต้นทุนของยาภูมิคุ้มกันบำบัด จาก 200,000 เป็น 20,000 บาทอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น