ข่าว

เศรษฐกิจหดตัวในไตรมาสแรกนื่องจากการระบาดของไวรัส

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เผยเศรษฐกิจที่พึ่งพาการท่องเที่ยวอาจหดตัวในไตรมาสแรกคล้ายคลึงกับสามเดือนก่อนหน้าเมื่อปีที่ผ่านมา เนื่องจากผลกระทบของการระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีการแพร่ระบาดของโควิด -19 โดยส่วนใหญ่ระบาดหนักในช่วงกลางปี พ.ศ.2563 แต่การระบาดครั้งใหม่ที่เกิดขึ้นในเดือนธันวาคมทำให้กิจกรรมในประเทศชะลอตัวลงอ่านต่อ ...

อาคมเผยการลงทุนภาครัฐเป็นตัวเร่งผลักดันการเติบโตในปี พ.ศ.2566-2567

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเผยการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยคาดว่าจะกระเตื้องขึ้นในปี พ.ศ.2566 ถึง 2567 โดยได้รับแรงหนุนจากการลงทุนภาครัฐหลังจากฟื้นตัวอย่างช้าๆจากผลกระทบของการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนานายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวปาฐกถาพิเศษเนื่องในงานสัมมนาทางธุรกิจว่า รัฐบาลยังคงเป้าหมายการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (จีดีพี) ที่ร้อยละ 4 ในปีนี้ โดยได้รับแรงหนุนจากการใช้จ่ายภาครัฐ การลงทุนภาคเอกชน การส่งออก และการท่องเที่ยวอ่านต่อ ...

สศค.เตือนรัฐบาลเป้าเศรษฐกิจโต 4% เป็นเรื่องยาก

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง (สศค.) เผยเป้าหมายที่ทะเยอทะยานของรัฐบาลในการเติบโตทางเศรษฐกิจให้ได้ร้อยละ 4 ในปีนี้จะเป็นเรื่องที่ยาก และต้องใช้ความพยายามอย่างมาก อีกทั้งปัจจัยสนับสนุนมากมาย เช่น การส่งออกที่สูงขึ้น การฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวต่างชาติ และการลงทุนภาคเอกชนที่เข้มแข็งนายวุฒิพงศ์ จิตตั้งสกุล ที่ปรึกษาด้านเศรษฐกิจการคลัง กล่าวว่าหากรัฐบาลหวังจะบรรลุตัวเลขร้อยละ 4 การส่งออกต้องขยายตัวมากกว่าร้อยละ 6.2 นักท่องเที่ยวต่างประเทศน่าจะต้องเกิน 5 ล้านคน และการลงทุนภาคเอกชนต้องขยายตัวมากกว่าร้อยละ 3.4อ่านต่อ ...

วิชิต จันทนุสรณ์ศิริ

คลังคาดเศรษฐกิจไทบโต 2.8% แต่ ไม่เป็นที่น่าพอใจ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง กล่าวว่าเศรษฐกิจไทยอาจเติบโต 2.8% ในปีนี้ แต่ยังไม่เป็นที่น่าพอใจมากนัก ในขณะที่มาตรการทางการคลังจะยังคงสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ เนื่องจากภาคการท่องเที่ยวยังคงอ่อนแอเศรษฐกิจไทยที่พึ่งพาการท่องเที่ยวและการส่งออกอย่างมากหดตัว 6.1% ในปีที่แล้ว ซึ่งตกต่ำที่สุดในรอบสองทศวรรษ เนื่องจากการระบาดของไวรัสโคโรนาลดความอุปสงค์และการเดินทางทั่วโลกอ่านต่อ ...

สภาพัฒน์เผยแผนเศรษฐกิจ ฉบับที่ 13 จะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจมูลค่าสูง

สภาพัฒน์ฯเผยแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่อไปควรมุ่งหวังให้ประเทศไทยเป็นเศรษฐกิจมูลค่าสูงนายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สภาพัฒน์ฯ) กล่าวว่า เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา คณะกรรมการสภาพัฒน์ฯ ได้เห็นชอบกรอบการพัฒนาสำหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ปี พ.ศ.2565 ถึง พ.ศ.2569 โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาเศรษฐกิจมูลค่าสูงอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ธปท.ชี้ภาคธุรกิจเป็นกุญแจสำคัญในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) กำลังกดดันให้รัฐบาลแก้ไขผลกระทบต่อสภาพคล่องจากสถานการณ์โควิด-19 ในภาคธุรกิจ โดยระบุว่าจะช่วยเร่งการฟื้นตัวของเศรษฐกิจนางสาวชญาวดี ชัยอนันต์ ผู้อำนวยการอาวุโส ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ชี้ว่ามาตรการที่เน้นการกระตุ้นให้เกิดการใช้จ่าย ลดภาษี และการปล่อยสินเชื่อให้กับเอสเอ็มอีส่งผลให้เศรษฐกิจในเดือนกุมภาพันธ์ปรับตัวดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ แต่ยอมรับว่าภาคการท่องเที่ยวและบริการยังไม่ปรับตัวดีขึ้นอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวกรมประชาสัมพันธ์

หอการค้าไทยเผยมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจดันจีดีพีโต 1.76%

3 มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล ได้แก่ โครงการคนละครึ่ง เราชนะ และม.33 เรารักกันถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศ และกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในปีนี้โดยรวมที่ร้อยละ 1.76รศ.ดร.เสาวณีย์ ไทยรุ่งโรจน์ ที่ปรึกษาสภามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจทั้ง 3 มาตรการคาดว่าจะช่วยให้เกิดการใช้จ่ายมากถึง 3.01 แสนล้านบาท โดยธุรกิจค้าปลีก และค้าส่ง ที่พัก และบริการด้านอาหารจะได้รับประโยชน์สูงสุดอ่านต่อ ...

ผุสดี อรุณมาศ

คลังเผยเศรษฐกิจไทยเดือน ม.ค. ชะลอตัว แต่คาดวัคซีนช่วยกระตุ้นได้

กระทรวงการคลังเผยเศรษฐกิจของไทยในเดือนมกราคมชะลอตัวลงเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาระลอกใหม่ได้ส่งผลกระทบต่อกิจกรรมภายในประเทศ แต่การเริ่มขับเคลื่อนการฉีดวัคซีนของประเทศจะสามารถกระตุ้นความเชื่อมั่นและการท่องเที่ยวได้หลังประเทศไทยได้รับวัคซีนป้องกันโควิด -19 ล็อตแรกจากจีน โดยจะเริ่มฉีดในกลุ่มเสี่ยงในเร็ววันนี้อ่านต่อ ...

S&P Global Ratings เผยเศรษฐกิจไทยขาดทุนถาวร 10% หากการฟื้นตัวของโควิดล่าช้า

รายงานฉบับใหม่ของ S&P Global Ratings เปิดเผยว่า ขณะนี้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความเสี่ยงต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจที่ล่าช้า ซึ่งจะเพิ่มความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างถาวรโดยประเทศไทยและตลาดหลักอื่น ๆ ในอาเซียนกำลังเผชิญกับผลกระทบของการระบาดโควิด -19 ระลอกใหม่ที่ดูเหมือนจะพุ่งสูงสุดเมื่อไม่นานมานี้นาย Vishrut Rana นักเศรษฐศาสตร์ของ S&P Global Ratings กล่าวว่า “ความเสี่ยงจากล่าช้าของการฟื้นตัวของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เพิ่มขึ้น” “ประมาณการพื้นฐานของเรายังคงถือว่าจีดีพีของประเทศเกิดใหม่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จะกลับสู่ระดับก่อนการระบาดในช่วงเดือนสิงหาคมของปีนี้” “อย่างไรก็ตามความเสี่ยงด้านความล่าช้าที่กำลังมากขึ้น และการฟื้นตัวเป็นเวลานานจะฉุดอัตราการเติบโตของภูมิภาค และนำไปสู่ต้นทุนทางเศรษฐกิจที่สูงขึ้นอย่างถาวร”อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

สภาพัฒน์ฯ เผยพิษโควิดทำให้จีดีพีไทยร่วง 6.1%

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพัฒน์) เปิดเผยว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ของไทยหดตัวร้อยละ 6.1 ในปี พ.ศ.2563 เนื่องจากผลกระทบของการระบาดของโรคโควิด -19 นายดนุชา พิชยนันท์ เลขาธิการสภาพัฒน์ฯ กล่าวในที่ประชุมว่าจีดีพีในไตรมาสที่สี่ของปี 2563 เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า แต่หดตัวร้อยละ 4.2 เมื่อเทียบปีต่อปีอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

avxHL
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!