ข่าว

รอนาน หรือก้าวยาวเกินไป?

ประเทศไทยเผชิญกับภัยคุกคามที่ไม่เหมือนใครจากการโจมตีทางไซเบอร์ที่จะเพิ่มขึ้น เมื่อเศรษฐกิจกลายเป็นดิจิทัลมากขึ้น เมื่อมีการผ่านพระราชบัญญัติความมั่นคงทางไซเบอร์ รัฐบาลพยายามที่จะเผชิญหน้ากับปัญหานี้อย่างจริงจังโดยการบังคับใช้อำนาจ แต่ผู้เชี่ยวชาญบางคนกลัวว่าอำนาจดังกล่าวอาจถูกใช้ไปในทางที่ผิด และขาดการกำกับดูแลที่เหมาะสมอ่านต่อ ...

สุจิตร ลีสงวนสุข

ความวุ่นวายทางการเมืองส่งผลกระทบพ.ร.บ.ความมั่งคงไซเบอร์

ผู้เชี่ยวชาญด้านกฎหมาย กล่าวว่า พ.ร.บ.รักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฉบับใหม่อาจล่าช้าเนื่องจากหน้าที่และคณะกรรมการที่สำคัญต่อประสิทธิภาพของกฎหมายจะต้องได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐบาลใหม่ ซึ่งวันที่จัดตั้งยังไม่มีความแน่นอนอ่านต่อ ...

สุจิตร ลีสงวนสุข

สนช.มีมติเห็นชอบร่างพ.ร.บ.มั่นคงไซเบอร์

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมาสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ลงมติเห็นชอบร่างพ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ วาระสองและสาม ด้วยคะแนน 133 เสียง งดออกเสียง 16 เสียง โดย พ.ร.บ.ให้สิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่สามารถยกเว้นคำสั่งศาลได้ในสถานการณ์ “วิกฤติ”อ่านต่อ ...

เอกราช สัตบุรุษ

แก้ไข พ.ร.บ.ความมั่นคงทางไซเบอร์

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มีกำหนดพิจารณาแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ฉบับล่าสุดในสัปดาห์หน้า  ซึ่งได้มีการเพิ่มข้อกำหนดสำหรับหมายศาล ในกรณีที่หน่วยงานของรัฐต้องการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อรับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้อ่านต่อ ...

สุจิตร ลีสงวนสุข

นักรณรงค์ด้านสิทธิกังวลถึงภัยคุกคามที่สำคัญใน พ.ร.บ.ความมั่นคงไซเบอร์

ผู้ปกป้องสิทธิและผู้เชี่ยวชาญด้านความเป็นส่วนตัว กล่าวถึงร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ซึ่งกำลังถูกผลักดันและการกำกับดูแลด้วยอำนาจของรัฐ โดยกล่าวถึงข้อกังวลหลัก คือ บทบัญญัติที่จะอนุญาตให้มีการยึดคอมพิวเตอร์และเซิร์ฟเวอร์โดยไม่มีคำสั่งศาล นักวิจารณ์กล่าวว่า พ.ร.บ.นี้จะให้อำนาจทางทหารในการติดตามและตรวจสอบการเคลื่อนไหวทางการเมืองในระบบออนไลน์ผ่านทางหน่วยงานความมั่นคงทางไซเบอร์แห่งชาติอ่านต่อ ...

อศินา พรวศิน

สนช.รับหลักการวาระ 2 ใน 6 กฎหมายดิจิทัล

จากรายงานล่าสุดระบุว่ากฎหมายดิจิทัล 6 ฉบับได้ผ่านการรับหลักการวาระ 2 จากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) กล่าวว่า กฎหมายดิจิทัล 6 ฉบับได้ผ่านการรับหลักการ ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ ร่างพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ร่างพ.ร.บ.สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และร่างพ.ร.บ.การพิสูจน์ และยืนยันตัวตนทางดิจิทัลอ่านต่อ ...

Alita Sharon

พ.ร.บ.ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ และคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกำลังรออนุมัติโดยสนช.

คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ และพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งออกโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เพื่อปูทางให้ประเทศบังคับใช้มาตรการป้องกันทางกฎหมายสำหรับเศรษฐกิจดิจิทัล และสังคมที่มีการเติบโตอย่างรวดเร็วอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ครม.อนุมัติกฎหมายดิจิทัล 2 ฉบับ

เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (18 ธ.ค.) คณะรัฐมนตรีอนุมัติกฎหมายดิจิทัลสองฉบับที่เกี่ยวกับการป้องกันอาชญากรรมในโลกไซเบอร์ และการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับความยินยอม นายพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กล่าวว่า กฎหมายทั้งสองฉบับนี้รวมถึงร่างพระราชบัญญัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ที่สามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากภัยคุกคามในโลกไซเบอร์ได้อ่านต่อ ...

สุวิทย์ รัตติวรรณ

การเสริมสร้างความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ของอาเซียน

การก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถือเป็นภัยคุกคามมาอย่างยาวนาน โดยก่อนหน้านี้กลุ่มผู้ก่อการร้ายได้ก่อเหตุในพื้นที่ดังกล่าวด้วยการคุกคามจากความรุนแรงทางกายภาพตั้งแต่การวางระเบิดไปจนถึงการลักพาตัว อย่างไรก็ตามในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของอินเทอร์เน็ต บรรดาผู้ก่อการร้ายได้พบวิธีใหม่ในการโจมตีเป้าหมาย ความกังวลจากการเติบโตของการก่อการร้ายในโลกไซเบอรของภูมิภาคได้เพิ่มอย่างมาก และผู้เชี่ยวชาญได้เรียกร้องภูมิภาคมีการตอบโต้แบบค่อยเป็นค่อยไปอ่านต่อ ...

ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์

ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ซึ่งยังไม่เสร็จสมบูรณ์ ได้รับการส่งเสริมเป็นหนึ่งในความพยายามที่จะขยายโครงสร้างพื้นฐานด้านความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ของไทย ปกป้องผลประโยชน์ด้านความมั่นคงของชาติ และปราบปรามอาชญากรรมในโลกไซเบอร์การเพิ่มขึ้นขแงเสียงสะท้อนในมุมมองที่ขัดกับร่างพระราชบัญญัตินี้ ที่สร้างแรงกระเพื่อมทั้งโลกออนไลน์ และออฟไลน์ เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการละเมิดอำนาจ และการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลอ่านต่อ ...

สุจิตร ลีสงวนสุข

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

amAda
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!